Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 การทำงานของระบบเศรษฐกิจแบบปิด - Coggle Diagram
บทที่ 5 การทำงานของระบบเศรษฐกิจแบบปิด
ระบบเศรษฐกิจแบบปิด กรณีไม่มีรัฐบาล
ภาคครัวเรือนกับการบริโภค
การบริโภค (Consumption)
สินค้าประเภทคงทน (Durable Goods) เช่น รถยนต์ เฟอร์นิเจอร์ เครื่องประดับ
สินค้าไม่คงทน (Non-durable Goods) เช่น ขนมปัง นม พืช ผัก ผลไม้
สินค้ากึ่งคงทน (Semi-durable Goods) เช่น เสื้อผ้า รองเท้า อาหารที่มีเก็บถนอมรักษาไว้
เงินที่ลงทุนมาจากไหน
ผลต่อเศรษฐกิจผ่านตัวทวีคูณ
การลงทุนได้มากกว่าที่ลงทุน
การลงทุนกับผลที่มีต่อเศรษฐกิจ
ภาคธุรกิจกับการลงทุน
ธุรกิจ = แสวงหากำไร (Profits) โดยการนำเอาปัจจัยการผลิตต่าง ๆ มาผลิตสินค้าและบริการแล้วจำหน่ายให้กับผู้บริโภค
การลงทุน (Investment) ในทางเศรษฐศาสตร์จะหมายถึง การเพิ่มปัจจัยการผลิตประเภททุน เช่น การสร้างโรงงาน โกดัง ซื้อเครื่องมือ เครื่องจักรใหม่ ยังรวมถึงส่วนเปลี่ยนในสินค้าคงเหลือ (Change in Inventories)
ปัจจัยกำหนดการลงทุน
กำไรที่คาดว่าจะได้รับ (Expected Profit)
ราคาปัจจัยการผลิต
ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
นโยบายของรัฐบาลและเสถียรภาพทางการเมือง
ความไม่แน่นอนของภาวะเศรษฐกิจ
อัตราดอกเบี้ย (Interest Rate)
ภาคครัวเรือนกับการออม
รายได้ = การบริโภค + การออม
“เมื่อการบริโภคของภาคครัวเรือนมากขึ้น ก็จะกระตุ้นให้ภาคธุรกิจทำการผลิตสินค้าและบริการมากขึ้น เกิดการลงทุนขยายการผลิต มีการใช้ปัจจัยการผลิตและเกิดการจ้างงานเพิ่มขึ้น ทำให้คนมีรายได้เพิ่มขึ้น นั้นคือ เศรษฐกิจเติบโต หรือรายได้ของคนในประเทศเพิ่มขึ้นนั่นเอง”
ปัจจัยกำหนดการบริโภคของภาคครัวเรือน
ระดับรายได้
การคาดคะเนเหตุการณ์ในอนาคต
สินเชื่อเพื่อการบริโภค
อัตราดอกเบี้ย
รสนิยม หรือ ค่านิยมทางสังคม