Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาที่ใช้ในระบบหัวใจ หลอดเลือด และไต
(Drugs in the cardiovascular: HTN,CVS…
ยาที่ใช้ในระบบหัวใจ หลอดเลือด และไต
(Drugs in the cardiovascular: HTN,CVS,DLP and renal systems:CKD)
-
ปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด
- เพศ ชาย
- อายุ (เพศชาย> 55 ปี,เพศหญิง> 65 ปี
- ภาวะความผิดปกติของไขมันในเลือด
- เบาหวาน
- ความดันโลหิตสูง
- การสูบบุหรี่
- ประวัติบุคคลในครอบครัวที่เป็นโรคหัวใจและหลอดเลือดเพศหญิงอายุน้อยกว่า 65 ปี เพศชายอายุน้อยกว่า 55 ปี
- อ้วน
- physical activity
- Abdominal obesity
ยาที่ใช้ในผู้ป่วย Angina pectoris,Myocardial infraction
Ischemic heart disease (IHD)
กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเป็นกลุ่มอาการทางคลินิก ซึ่งมีลักษณะทางพยาธิสภาพรีระวิทยาของการเกิดโรคขายคืนกันคือ เกิดจากความไม่สมดุลระหว่าง myocardial oxygen demand และ myocardial oxygen supply จึงก่อให้เกิดอาการแสดงทางคลินิกที่เป็นผลมาจากการที่กล้ามเนื้อหัวใจขาดออกซิเจน
อาการที่พบ
- เจ็บปวดบริเวณหน้าอก
- ซึ่งผู้ป่วยอาจบรรยายว่ามีการปวดร้าวไปยังส่วนอื่นๆของร่างกายส่วนบนเช่น ไหล่ แขน แผ่นหลัง หรือกรามฟัน ก็ได้
- ผู้ป่วยบางรายอาจไม่รายงานว่าตนเองมีอาการปวดเพียงแต่รู้สึกไม่สบายอึดอัดแน่นบริเวณหน้าอก
- มักพบได้บ่อยในผู้ป่วยสูงอายุ ผู้ป่วยเบาหวาน และผู้ป่วยสตรี
ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ
- Stable coronary artery disease/chronic stable angina
ภาวะที่มีการตีบตันของหลอดเลือดหัวใจแบบ atherosclerosis โดยไม่มีการแตกของ atherosclerotic plaque หลอดเลือดหัวใจตีบแคบลงจากการที่ plaque นั้นปิดกั้น lumen ของหลอดเลือด
- Acute coronary syndromes
กลุ่มอาการของโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด มีสาเหตุมาจากการอุดตันอย่างเฉียบพลันของหลอดเลือดหัวใจโดยสาเหตุสำคัญเกิดขึ้นจากการแตกของ atherosclerotic plaque และเกิดลิ่มเลือดที่อุดตันหลอดเลือดจึงลดปริมาณเลือดที่ไปยังกล้ามเนื้อเจ็บหน้าอก หัวใจ ทำให้ผู้ป่วยมีอาการปวดขึ้นอย่างเฉียบพลัน
Angina Pectoris
- เป็นผลจากขาดความสมดุลระหว่างความต้องการออกซิเจนของกล้ามเนื้อหัวใจกับออกซิเจนที่หัวใจได้รับ
จำแนกเป็น 2 ชนิด
Stable angina
- สามารถควบคุมได้ด้วยยาหรือการผ่าตัด
- มีอาการคงที่
- ไม่มีการเพิ่มความถี่ในการเจ็บ
Unstable angina
- เป็นครั้งแรกและมีอาการรุนแรง
- ออกแรงเล็กน้อยก็เป็น
- เคยเป็น angina มาก่อน
- ไม่สามารถควบคุมได้ด้วยยาหรือการผ่าตัด
- มีการเจ็บหน้าอกขณะพัก
อาการที่พบ
- เป็น Ischemic Heart Disease
- มีอาการเจ็บหน้าอกเหมือนมีสิ่งกดทับ บริเวณใต้ลิ้นปี่
- อาจมีการปวดร้าวและแพร่กระจายไปที่ขออะไรและแขนซ้าย
- ระยะเวลาที่มีอาการประมาณ 5-15 นาที
- มีอาการดีขึ้นเมื่อได้รับ Sublingual Nitroglycerin
Aspirin ตลอดชีวิต (clopidogrel หากไม่สามารถใช้ aspirin ได้)
Oral beta-blocker หากผู้ ผู้ป่วยมีข้อห้ามใช้ beta-blocker พิจารณาใช้ calcium channel blocker
Nitrate โดยให้เมื่อมีอาการเจ็บหน้าอกและให้เพื่อป้องกันการเจ็บนิดนึง
Myocardial infarction (MI)
- เกิดจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดนานๆ จนเกิดเนื้อตาย ซึ่งเกิดจาก coronary blood flow ไม่ดี
- สาเหตุสำคัญที่เกิดจาก arteriosclerosis เช่นเดียวกับ angina pectoris ผู้ป่วยจะมีอาการปวดหน้าอกที่นั่นมีภาพหรือได้รับ nitroglycerin ก็ไม่หาย
- การตรวจ EKG มักพบลักษณะผิดปกติ
- จุดประสงค์สำคัญในการรักษา MI คือ
ป้องกันการขยายตัวของบริเวณที่เกิดเนื้อตายของกล้ามเนื้อหัวใจและป้องกันหรือรักษาอาการแทรกซ้อนต่างๆ
ยาที่ใช้รักษา MI
- ยารักษาอาการหัวใจเต้นผิดปกติ Antiarrhythmic drugs
เช่น Lidocaine,Atropine
- Beta-blockers
เช่น Metoprolol,Propanolol,Timolol
- ยาขยายหลอดเลือด Vasodilators
เช่น Nitroglycerine,Sod.nitroprusside
- ยาแก้ปวดอย่างแรง
เช่น Morphine,Pethidine,Pentazocine
- ยาระบาย
เช่น กลุ่ม Stool softener
-
-
-
ยาที่ใช้ในผู้ป่วยโรคไต
ภาวะไตวายฉับพลัน (Acute Renal Failure): ตรวจพบการทํางานของไตลดลงอย่างรวดเร็ว โดยดูจากการเพิ่มขึ้นของ Urea และ Creatinine ในเลือดในระยะเวลาเป็นชั่วโมงถึงเป็นวัน แบ่งตามสาเหตุได้ 3 แบบ ดังนี้
- Prerenal ARF
- Postrenal ARF
- Intrinsic ARF
ภาวะไตวายเรื้อรัง (Chronic Renal Failure/Chronic Kidney Disease;CKD): มีอาการบวม, ซีด, อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร ร่วมกับมี serum creatinine > 2 mg/dl. หรือ GFR ตํ่ากว่า 60 mg/min/1.73 m2 นานเกิน 3 เดือน หรือ ตรวจจาก Ultrasound หรือ Plain KUB พบว่า ไตมีขนาดเล็กกว่า 10 cm. ทั้ง 2 ข้าง
-
-