Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลผู้ป่วยอำเภอวารินชําราบ จังหวัดอุบลราชธานี ที่มีความหลากหลายทางวัฒน…
การดูแลผู้ป่วยอำเภอวารินชําราบ จังหวัดอุบลราชธานี ที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม
วัฒนธรรมในการอยู่ร่วมกันเพื่อสร้างสุขภาวะให้ผู้สูงอายุ
การสื่อสารกันด้วยดี
เป็นวัฒนธรรมที่นำความสบายใจมาให้ผู้สูงวัยในครอบครัว
การเคารพให้เกียรติผู้อาวุโส
เป็นวัฒนธรรมที่จะก่อให้เกิดความสงบสุขและ
เกิดสุขภาวะทางสังคม เกิดการเมตตาต่อกัน
ผู้อาวุโสหรือผู้สูงอายุที่ได้รับเกียรติจะมีสุขภาวะ
ทางด้านจิตใจรับรู้ถึงคุณค่าจากการที่ได้รับเกียรติจากลูกหลาน
การทำกิจกรรมทางศาสนาร่วมกัน
น้อมนําลูกหลานให้มีวัตรปฏิบัติในการเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดี
เกิดความสุขสงบในมิติจิตวิญญาณเพราะได้ปฏิบัติศาสนกิจ
ตามความเชื่อที่ตนเองมี
การร่วมรับประทานอาหาร
เป็นโอกาสในการสื่อสารรับฟังกัน
เมื่อถูกรับฟังผู้สูงอายุจะรับรู้ถึงคุณค่าของตนเองต่อลูกหลาน
ทำให้ผู้สูงอายุรับประทานอาหารได้มากขึ้น
การพูดคุยสื่อสารกันสม่ำเสมอ
เป็นโอกาสในการพูดคุยกันในครอบครัว
การมีกิจกรรมร่วมกัน
มีช่วงเวลาผ่อนคลายด้วยกิจกรรมสนุกสนานร่วมกัน
การดูแลสุขภาพในระยะสุดท้าย
การดูแลตามความประสงค์ของผู้สูงอายุ “ระยะสุดท้ายไม่มีคะลำ”
แสดงความรู้สึกที่ดีต่อผู้สูงอายุ
ด้วยความเคารพรัก “กิจกรรมขอขมา”
ดูแลเอาใจใส่ใกล้ชิด
การร่วมส่งพลังจากการร่วมสวดมนต์ “สวดอิติปิโส”
การผูกแขน
นําด้ายที่ผ่านพิธีสวดมนต์ที่ถือว่าเป็นด้าย
สายสิญจน์มาผูกแขน
ทำให้ผู้ป่วยมีสิ่งยึดเหนี่ยวและเป็นการถ่ายทอดความรักความห่วงใย
จัดกิจกรรมร่วมทำบุญ “เชื่อเรื่องบุญ”
การสื่อสารแสดงออกในทางบวก
การมีแนวปฏิบัติที่ทุกคนจะรับรู้ว่าจะ
ระมัดระวังคําพูดและการปฏิบัติดีต่อกัน
สร้างความสุขสงบ สบายใจให้ผู้ป่วยไม่ต้องกังวล
และห่วงใยลูกหลานจนเกินไป
การดูแลสุขภาพเมื่อเจ็บป่วย
การให้ความเอาใจใส่ดูแลใกล้ชิด
การดูแลด้านจิตใจและจิตวิญญาณ
กรณีเจ็บป่วยจะมีการทำพิธีสู่ขวัญ
มีพราหมณ์มาทำพิธีเรียกขวัญหรือเชิญขวัญ
มีลูกหลาน เพื่อน ญาติ มาร่วมกันทำพิธี
เพื่อผู้ป่วยทำให้ผู้ป่วยเกิดกําลังใจที่ดี
เป็นโอกาสที่จะได้ร่วมกันปรึกษาวางแนวทางการดูแลผู้ป่วยร่วมกัน
เพื่อให้คลายความวิตกกังวล
การดูแลด้านอารมณ์
เพื่อน ญาติพี่น้องจะผลัดกันมาเยี่ยมและให้กําลังใจ
เพื่อเป็นการร่วมกันดูแลทั้งผู้ป่วยและผู้ดูแลใกล้ชิด
การปฏิบัติเมื่อมีการเจ็บป่วยของผู้สูงอายุในครอบครัว
พาไปหาหมอธรรม
(บุคคลที่ผู้ป่วยศรัทธาและนับถือ)
เพื่อให้ทำพิธีให้กําลังใจ
เพื่อซักถามเกี่ยวกับความเจ็บป่วย
อาหารคะลำ
อาหารห้ามรับประทานเพราะจะส่งผล
ต่อการเจ็บป่วยต่อโรคที่เป็น
เช่น ของดอง อ่อม บักหอย(อ่อมหอย)
การสวดอิติปิโส
เชื่อว่าจะนําสิ่งดีให้เข้ามาในชีวิต แคล้วคลาดจากภัยทั้งปวง
เป็นเรื่องของธาตุลม ขันธ์ห้า
เชื่อว่าการเจ็บป่วยเป็นความแปรปรวน
ขององค์ประกอบในร่างกาย
การช้อนขวัญ
เพื่อเป็นการเรียกขวัญในกรณีเกิดการเจ็บป่วย
จากอุบัติเหตุทั้งกรณีรุนแรงและไม่รุนแรง
เป็นกิจกรรมที่ดูแลในมิติจิตวิญญาณ
ผูกข้อต่อแขน
ทำเป็นพิธีกรรม หรือผูกแขน โดยผู้ที่รักใคร่ผู้ที่เคารพนับถือผู้ป่วย
ส่วนใหญ่จะเป็นผู้อาวุโสหรือเป็นที่เคารพรักเป็นผู้ผูกแขนให้
เช่น ในบางครั้งลูกหลานจะไปรับผู้อาวุโสมาเยี่ยมผูกแขนให้ผู้ป่วย