Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2ราชภัฏเชียงใหม่ภายใต้วิถีล้านนา, จัดทำโดย …
บทที่ 2ราชภัฏเชียงใหม่ภายใต้วิถีล้านนา
อัตลักษณ์ล้านนาสู่ความเป็นมาของเมืองเชียงใหม่
สถาบันล้านนาศึกษา (LannaStudies)
เรือนอนุสารสุนทร สร้ํางขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์ในวาระครบรอบ 125 ปี หลวงอนุสารสุนทร คหบดีผู้บุกเบิกการค้ําในเมืองเชียงใหม่
สถาปัตยกรรมเรือนล้ํานนา ที่สร้ํางตามแบบของเรือนคำเที่ยง เพื่อให้เป็นแหล่งเรียนรู้ด้ําน เรือนโบราณล้ํานนา
หอจดหมายเหตุ ที่แสดงเอกสารทางประวัติศําสตร์ของล้ํานนา นิทรรศการแสดงวิถีชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ์ล้ํานนา แปดจังหวัดภาคเหนือตอนบน
ด้ํานหลังของเรือนอนุสารสุนทรคือ อาคารเทพรัตนราชสุดา สำนักงานศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยําลัยราชภัฏเชียงใหม่
พิพิธภัณฑ์ ถือเป็นแหล่งเรียนรู้ประเภทหนึ่งที่ให้ทั้งความรู้และความเพลิดเพลิน
ศูนย์ใบลานศึกษา มีหน้ําที่ในการสำรวจ รวบรวม ปริวรรต และเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับคัมภีร์ใบลาน พับสา เอกสารหายาก และเอกสารโบราณ
ห้องศูนย์ข้อมูลภูมิปัญญาล้ํานนา มีหน้ําที่ในการให้บริการข้อมูล องค์ความรู้ด้ํานศิลปวัฒนธรรม ตลอดจนบริการสืบค้นหนังสือเกี่ยวกับศิลปะและวัฒนธรรมของล้ํานนา
โครงการเพชรราชภัฏ-เพชรล้ํานนา เพื่อสรรหาครูภูมิปัญญาปราชญ์ชาวบ้ํานที่มีควํามรู้ความสามารถและความเชี่ยวชาญทางด้ํานศิลปวัฒนธรรมในสาขาต่ํางๆ ยกย่องเชิดชูเกียรติเป็น “เพชรราชภัฏ-เพชรล้ํานนา”
โครงการสืบสานประเพณีรดน้ำดำหัวในเทศกาลสงกรานต์ เพื่อให้บุคลากรของมหาวิทยําลัยราชภัฎเชียงใหม่ได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อสร้ํางสัมพันธ์ระหว่ํางกัน กํารแสดงความกตัญญูกตเวที
โครงการสืบสานประเพณีในการเข้ําร่วมขบวนแห่พระพุทธสิหิงค์ในเทศกาลสงกรานต์เพื่อก่อให้เกิดการสืบทอด การอนุรักษ์ประเพณีอันดีงามของท้องถิ่น โดยอัญเชิญพระพุทธรูปประจำมหาวิทยาลัย “พระพุทธมหาคุณากร” ให้ประชาชนทั่วไปได้สรงน้ำ สักการะพระพุทธรูป
โครงการฝึกอบรมด้ํานศิลปวัฒนธรรมล้ํานนา เพื่อเป็นการอนุรักษ์สืบสานศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้ํานล้ํานนา และร่วมกันสืบทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงการจัดทำวารสารทางวิชาการเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม “ข่วงผญํา” เพื่อเผยแพร่ผลงานทางวิชาการด้ํานศิลปวัฒนธรรม สร้ํางความเข้ําใจและความถูกต้องในข้อมูลด้ํานวัฒนธรรมท้องถิ่น
โครงการบรรพชา อุปสมบท-เนกขัมมะ เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติแด่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรในฐานะที่ทรงเป็นพุทธศาสนิกชนและองค์เอกอัครศาสนูปถัมภก และทรงมีพระมหากรุณาธิคุณต่อมหาวิทยําลัยราชภัฏทรงพระราชทาน “ราชภัฏ” ให้กับมหาวิทยาลัยราชภัฏทั่วประเทศ
โครงการธรรมศึกษา เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษําปฏิบัติศาสนพิธีทางพระพุทธศาสนาได้อย่ํางถูกต้อง นำหลักธรรมไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่ํางเหมาะสม
โครงการหล่อเทียนและแห่เทียนเข้ําพรรษํา เพื่อเป็นการส่งเสริมสนับสนุนให้นักศึกษํา คณาจารย์ และบุคลากร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมในฐานะสถาบันอุดมศึกษาเพื่อท้องถิ่น
สัญลักษณ์ล้านนาในราชภัฏเชียงใหม่
ที่ตั้งของมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
10 มิถุนํายน 2547 พระบําทสมเด็จพระบรมชนกําธิเบศร มหําภูมิพลอดุลยเดชมหํารําช บรมนําถบพิตร ทรงพระกรุณําโปรดเกล้ํา โปรดกระหม่อมลงพระปรมําภิไธย ในพระรําชบัญญัติมหําวิทยําลัยรําชภัฏพ.ศ.๒๕๔๗ อันมีผลให้เปลี่ยนชื่อเป็น มหําวิทยําลัยรําชภัฏ
14 กุมภําพันธ์ 2535 พระบําทสมเด็จพระบรมชนกําธิเบศร มหําภูมิพลอดุลยเดชมหํารําช บรมนําถบพิตร ทรงพระกรุณําโปรดเกล้ําฯ พระรําชทํานนําม วิทยําลัยครูทั่วประเทศว่ํา "สถําบันรําชภัฏ"
ปี พ.ศ. 2490 ได้เปลี่ยนชื่อโรงเรียนเพื่อให้สอดคล้องกับงํานผลิตครูที่ด ําเนินกํารอยู่โดยเรียกว่ํา โรงเรียนฝึกหัดครูเชียงใหม่ เริ่มใช้สีด ําและเหลืองเป็นสีประจ ําโรงเรียน โดยมี "พระพิฆเนศวร์เทพเจ้ําแห่งปัญญํา" เป็นสัญลักษณ์
ปี พ.ศ. 2466 มหําเสวกโท พระยําสุรบดินทร์สุรินทรภําไชย (อุปรําช) อ ํามําตย์เอกพระยําพํายัพพิริยะกิจ (สุมหเทศําภิบําล) และอ ํามําตย์ตรีหลวงวิสณห์ดรุณกําร (ศึกษําธิกําร มณฑลพํายัพ) ได้ร่วมกันเพื่อเตรียมกํารจัดตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูกสิกรรมประจ ํามณฑลพํายัพขึ้นซื้อที่ดินบ้ํานเวียงบัว ต.ช้ํางเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่ จ ํานวน 1แปลง มีเนื้อที่ประมําณ 15ไร่ พร้อมด้วยเรือนไม้ 1หลัง เป็นเงิน 318.75บําท เพื่อเตรียมจัดตั้งโรงเรียน
วิถีล้านนา: ความเป็นมาของเมืองเชียงใหม่
ภูมิศาสตร์ล้านนา: ชัยภูมิเมืองล้านนา
อาณาจักรล้านนา: พระเจ้ากือนา(พ.ศ.1896-1928)
กือหมายถึง ร้อยล้าน, กือนา หมายถึง ร้อยล้านนา
พระเจ้ามังราย: แคว้นโยน หรือ โยนก และแคว้นพิง
พระเจ้าติโลกราช (พ.ศ.1984-2030): ท้าวล้านนา พระยาล้านนา ชาวล้านนา
ล้านนา: เมืองสิบแสนนา “ทสลกเขตนคร”
พระเจ้าสามฝั่งแกน (พ.ศ.1945-1984): ล้านนาเชียงแสน ล้านนาเชียงใหม่
ตำนานสุวรรณคำแดง: อาณาจักรล้านนา
ดินแดนล้านนาปัจจุบันกลุ่มล้านนาตะวันตก: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง เชียงราย พะเยา แม่ฮ่องสอน
กลุ่มล้านนาตะวันออก: แพร่ น่าน
ความเป็นชาติพันธุ์และชุมชนท้องถิ่น
๓.คนไทยอยู่ทางใต้ของลุ่มแม่น้ำแยงซีเกียงร่วมกับกลุ่มชนต่าง ๆ ชนชาติไทยได้อพยพมาทางใต้อย่างเป็นระยะ มาตั้งหลักฐานอยู่ที่มณฑลยูนนานก่อนจะมาอยู่ในดินแดนที่เป็นประเทศไทย
๔.ถิ่นฐานเดิมของคนไทยอยู่ทางตะวันตกของมณฑลเสฉวน ต่อมาถอยมาทางใต้และตั้งอาณาจักรน่านเจ้าขึ้นในช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ 12และเมื่อถูกจีนรุกรานจึงเคลื่อนมาทางใต้ ตั้งถิ่นฐานในคาบสมุทรอินโดจีน
๒.ถิ่นฐานเดิมของไทยอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของจีนแถบมณฑลกวางตุ้ง กวางสี และยูนนาน ต่อมาถูกจีนรุกรานจนถอยร่นมาทางใต้ กระจายไปตามถิ่นฐานต่าง ๆ หลายทิศทาง
๕.คนไทยมีเชื้อสายเดียวกับชาวอินโดนีเซีย มลายู และฟิลิปปินส์ มีถิ่นฐานอยู่แถบเส้นศูนย์สูตรแล้วอพยพไปทางเหนือสู่ดินแดนภาคตะวันออกเฉียงใต้ของจีน กวางเจา กวางสี กวางตุ้งและเกาะไหหล า ต่อมาถูกจีนรุกรานจึงอพยพมาตั้งถิ่นฐานยังถิ่นฐานเดิม พวกที่ไม่ได้อพยพก็กระจายอยู่ทางตอนใต้ของจีน
๑.ถิ่นฐานเดิมของคนไทยอยู่แถบเทือกเขาอัลไต ในมองโกลเลีย ต่อมาอพยพแถบลุ่มแม่น้ำแยงซี จีนตอนใต้ และลงมาสู่ดินแดนที่เป็นประเทศไทย
ประวัติศาสตร์ล้านนา
ดินแดนล้านนาเริ่มในต้นพุทธศตวรรษที่ ๑๙ เมื่อสถาปนานครเชียงใหม่ พ.ศ.๑๘๓๙ นับถึงปัจจุบันเชียงใหม่มีอายุกว่า ๗๐๐ ปี การศึกษาประวัติศาสตร์ล้านนาตามพัฒนาการแบ่งได้ ดังนี้
ล้านนาสมัยรัฐอาณาจักร (พ.ศ.๑๘๐๔-๒๑๐๑)
สมัยสร้างอาณาจักร (พ.ศ. ๑๘๘๓๙-๑๘๙๘) การก่อตั้งอาณาจักรล้านนา เป็นผลมาจากการรวมแคว้นหริภุญไชยเข้ากับแคว้นโยนในสมัยของพระยามังรายปฐมกษัติรย์แล้วสถาปนาเมืองเชียงใหม่ขึ้นเป็นศูนย์กลาง การก่อตั้งเมืองเชียงใหม่หรือนพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่ ในปี พ.ศ. ๑๘๓๙ มีเป้าหมายเพื่อให้เป็นสถาบันทางการเมืองที่ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางอาณาจักรทั้งเรื่องการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
การสร้างเมืองเชียงใหม่ พระยามังรายเชิญพระยางำเมืองและพ่อขุนรามคำแหงมาร่วมกันพิจารณาทำเลที่ตั้ง พระยาทั้งสองก็เห็นด้วย และช่วยดูแลการสร้างเมืองเชียงใหม่ ด้วยเหตุที่พ่อขุนรามคำแหงมาร่วมสร้างเมืองเชียงใหม่ ทำให้ผังเมืองเชียงใหม่ได้รับอิทธิพลจากสุโขทัย
ดินแดนล้านนา ได้พัฒนาการปกครองจากแว่นแคว้น-นครรัฐมาสู่ รัฐแบบอาณาจักร โดยมีเชียงใหม่เป็นศูนย์กลาง รัฐแบบอาณาจักรสถาปนาอำนาจโดยรวบรวมแว่นแคว้น-นครรัฐมาไว้ด้วยกันราวพุทธศตวรรษที่ ๑๙ จากปรากฏการณ์ทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญคือ การสลายตัวของรัฐโบราณที่เคยรุ่งเรืองมาก่อน
สมัยอาณาจักรล้านนาเจริญรุ่งเรือง (พ.ศ.๑๘๙๘-๒๐๖๘) ในราวกลางราชวงศ์มังราย นับแต่สมัยพระยากือนา เป็นต้นมา อาณาจักรล้านนาเจริญขึ้นอย่างเห็นได้ชัด และเจริญสูงสุดในสมัยพระเจ้าติโลกราชและพระยาแก้วหรือพระเมืองแก้ว ซึ่งถือเป็นยุคทอง
สมัยเสื่อมและอาณาจักรล้านนาล่มสลาย (พ.ศ.๒๐๖๘-๒๑๐๑) เกิดขึ้นในช่วง ปลายสมัยราชวงศ์มังราย นับตั้งแต่พระญาเกสเชษฐราชขึ้นครองราชย์ จนกระทั่งตกเป็นเมืองขึ้นของพม่าใน ช่วงเวลา ๓๓ ปี ในช่วงเวลานั้นมีระยะหนึ่งที่ว่างเว้นไม่มีกษัตริย์ปกครองถึง ๔ ปี เพราะขุนนางขัดแย้งกันเอง ตกลงไม่ได้ว่าจะให้ใครเป็นกษัตริย์ การสิ้นรัชสมัยของกษัตริย์เกิดจากขุนนางจัดการปลงพระชนม์ หรือขุนนางปลดกษัตริย์ หรือกษัตริย์สละราชสมบัติ
ล้านนาสมัยพม่าปกครอง(พ.ศ.๒๑๐๑-๒๓๑๗)
ยุคแห่งความอ่อนแอของล้านนา (พ.ศ.๒๑๐๑-๒๓๑๗)ในช่วงเวลาดังกล่าวส่วนใหญ่พม่าปกครอง แต่จะมีบางช่วงที่อยุธยายกทัพ ขึ้นมายึดเชียงใหม่ได้ เช่น สมัยพระนเรศวรและสมัยพระนารายณ์
สมัยแว่นแคว้น-นครรัฐ
พบหลักฐานการตั้งถิ่นฐานของชนเผ่าโบราณ ๒ กลุ่ม คือ ลัวะ และ เม็ง
ล้านนาสมัยเป็นเมืองประเทศราชของไทย(พ.ศ. ๒๓๑๗-๒๔๒๗)
หลังจากเสร็จสงครามขับไล่พม่าออกจากเชียงใหม่ พ.ศ.๒๓๑๗ แล้ว พระเจ้าตากสินทรงตอบแทนความดีความชอบโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “พระญาจ่าบ้าน” (บุญมา) เป็นพระยาวิเชียรปราการครองเมืองเชียงใหม่ พระเจ้ากาวิละครองเมืองล าปาง และทรงมอบอาญาสิทธิ์แก่เจ้าเมืองทั้งสองให้ปกครองบ้านเมืองตามธรรมเนียมเดิมของล้านนา
จัดทำโดย นางสาวดารารัตน์ วิทยาภรณ์อนันต์ รหัสนักศึกษา 63121008