Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 สมดุลของกรด-ด่าง สมดุลน้ำ และ Body Electrolytes,…
-
-
- ช่วยในการดูดซึมและแพร่กระจายของสารต่างๆ
- เป็นตัวกลางในการนำสารต่างๆ ไปยังระบบที่เหมาะสม
- ใช้ปฏิกิริยาเคมีที่สำคัญในร่างกาย เช่น การลายATP (adenosine triphosphate)
- ควบคุมการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของส่วนนั้นๆ
- เป็นส่วนประกอบ 2 ใน 3 ของร่างกายซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นส่วนใหญ่ๆ โดยมีเยื่อกั้นบางๆ(membrane) เป็นตัวแยก : 55-60% ของน้ำหนักตัว
- น้ำภายในเซลล์(intracellular fiuid ; ICF) : 40% ของน้ำหนักตัว
- น้ำภายนอกเซลล์(extracellular fluid ; ECF) : 20% ของน้ำหนักตัว
-
-
- ทางที่หลีกเลี่ยงไม่ได้(insensible perspiration)
- ทางที่ปรับสมดุลได้(insenible perspirstion)
-
-
- การขับปัสสาวะ ควบคุมโดยความเข้มข้น และปริมาตรของพลาสมา
- กลไกควบคุมความเข้มข้นของพลาสมาให้คงที่ โดยอาศัยADH
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
- Bicarbonate-carbonic acid buffer system
-
-
- Haemoglobin buffer system
-
- non-volatile acid จาก protein : amino acid ที่มี sulfuric และ phosphoric acid
- non-volatile acid จาก carbohydrate : lactic acid และ pyruvic acid
- non-volatile acid จาก lipid : keto acid
-
- Primary metabolic acidosis
- Primary metabolic alkalosis
- Primary respiratory acidosis
- Primary respiratory alkalosis
-
-
-
- Electrolytes are well distributed in the body compartments.
- Elerolytes in the medium/compartments produce osmotic pressure.
- This osmotic pressure helps in maintaining water balance.
- Na+ : Most abundant electrolyte in the ECF.
- K+ : Essential for normal membrane excitability for nerve impulse
- Cl+ : Regulates osmotic pressure and in regulating acid-base balance
- Ca2+ : Promotes nerve impulse and muscle contraction/relaxation
- Mg2+ : Plays role in carbohydrate and protein metabolism,storage and use of intracellular energy and neural transmisson. Lmportant in the functioning of the heart,nerves, and muscles
- คือระดับซีรัมโซเดียมน้อยกว่า 135 มิลลิโมล/ลิตร สัมพันธ์กับผลการรักษาที่ไม่ดี ในผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวจะมีอัตราการเสียชีวิตที่สูงขึ้นและยังเพิ่มอัตราการเสียชีวิตในภาวะอื่นๆ เช่น ปอดอักเสบ
-
- เกิดจากความสามารถในการขับสารน้ำ(free water) ของไตนั้นผิดปกติไปหรือทำได้ไม่พอเพียง
-
- สมองบวมน้ำ เช่น ปวดศีรษะ, คลื่นไส้อาเจียน,ซึมลง,เสียชีวิตได้จากภาวะ brain herniation หรือมีอาการทางกล้ามเนื้อ เช่น ตะคริว ตรวจร่างกายพบความไวของdeep tendon reflexes
- คือระดับซีรัมโซเดียมสูงกว่า 150 มิลลิโมล/ลิตร ผู้ป่วยวิกฤติมีโอกาสสูงที่จะเกิดภาวะโซเดียมสูงในเลือด
- เป็นผลจากค่าออสโมลาลิตีในเลือดที่สูงขึ้น ผู้ป่วยจะมีอาการทางระบบประสาท เช่น สับสน ซึม ชัก ตรวจร่างกายจะพบผิวหนังตึงๆ หยุ่นๆคล้ายก้อนแป้ง(doughy skin)
- คือ ค่าซีรัมโพแทสเซียมน้อยกว่า 3.5 มิลลิโมล/ลิตร
- การได้รับโพแทสเซียมไม่พอเพียง, การสูญเสียไปทางปัสสาวะหรือทางระบบทางเดินอาหาร และการที่โพแทสเซียมย้ายเข้าสู่เซลล์
- มักเกี่ยวข้องกับระบบประสาทและกล้ามเนื้อ เช่น กล้ามเนื้ออ่อนแรง ท้องผูกและอาจทำให้เกิดภาวะ rhabdomyolysis ได้
- คือภาวะที่โพแทสเซียมในเลือดมากกว่า 5 มิลลิโมล/ลิตร การรักษาภาวะโพแทสเซียมในเลือดสูงขึ้นกับความรุนแรงและผลกระทบต่อการทำงานของหัวใจ ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงของคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
- ที่พบได้บ่อยได้แก่ผู้ป่วยอุบัติเหตุ,ภาวะไตล้มเหลวทั้งเฉียบพลันและเรื้อรัง,การติดเชื้อในกระแสเลือด ฯลฯ
- กรณีที่มีแคลเซียมในเลือดต่ำอย่างรุนแรง ได้แก่ tetany และชัก ในส่วนของภาวะแคลเซียมในเลือดต่ำเรื้อรังนั้นอาจมีอาการผิกปกติทางด้านอารมณ์และจิตใจ
- การละลายแคลเซียมจากกระดูกเพิ่มขึ้น
- การรับประทานหรือมีการดูดซึมแคลเซียมมากเกินไป
-
- ระดับซีรัมฟอสเฟตที่น้อยกว่า 2.5 มิลลิกรัม/เดซิลิตร สาเหตุหลักๆมาจากการได้รับ ฟอสเฟตหรือลำไส้ดูดซึมฟอสเฟสได้น้อยกว่าปกติ การที่ฟอสเฟต มีการเคลื่อนย้ายเข้าสู่เซลล์และมีการสูญเสียออกไปในทางเดินปัสสาวะ
- มีอาการที่หลากหลายออกไป เนื่องจากฟอสเฟตเกี่ยวข้องกับกระบวนการสร้างพลังงานในเซลล์ ผุ็ป่วยจะมีอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรง เดินเซ สับสน ชัก ซึม การหายใจล้มเหลวฯลฯ
-
-
-
-
- ซีรัมแมกนีเซียมที่น้อยกว่า 1.7 มิลลิกรัม/เดซิลิตร
- มักมาจากการสูญเสียแมกนีเซียมไปในระบบทางเดินอาหาร หรือทางปัสสาวะสาเหตุอื่นๆ ได้แก่การติดเชื้อในกระแสเลือด,การได้เลือดที่มีCitrate ฯลฯ