Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1ความเป็นมาของมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่, จัดทำโดย …
บทที่ 1ความเป็นมาของมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
ประวัติความเป็นมาของกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ
พ.ศ. 2468 ธรรมการมณฑลได้จัดตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูประจำมณฑลขึ้นโดยเฉพาะ เรียกว่า "โรงเรียนฝึกหัดครูมูลประจำมณฑลนครศรีธรรมราช" (ปัจจุบัน คือมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา)
วันที่1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2466ก่อตั้ง “โรงเรียนฝึกหัดครูกสิกรรมมณฑลอุดร” บริเวณสโมสรเสือป่ามณฑลอุดร อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี (ปัจจุบัน คือ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี)
ปี พ.ศ. 2457 ก่อตั้งโรงเรียนตัวอย่างประจำมณฑลนครราชสีมา ต่อมาก็ได้เปลี่ยนชื่อเป็น “โรงเรียนฝึกหัดครูกสิกรรมมณฑลนครราชสีมา” (ปัจจุบัน คือ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา)
พ.ศ. 2466 ได้มีการก่อตั้ง "โรงเรียนฝึกหัดครูกสิกรรมประจำมณฑลพายัพ" ณบ้านเวียงบัว ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (ปัจจุบัน คือ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่)
วันที่12 ตุลาคม พ.ศ. 2435 ได้มีการก่อตั้งโรงเรียนฝึกหัดอาจารย์ขึ้น บริเวณโรงเลี้ยงเด็ก ตำบลสวนมะลิ ถนนบำรุงเมือง จังหวัดพระนคร (ปัจจุบัน คือ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร)
ประวัติความเป็นมาของมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
ปี 2485 กระทรวงศึกษาธิการได้ปรับปรุงโรงเรียนฝึกหัดครูประกาศนียบัตรมณฑลพายัพ โดยได้เน้นการผลิตครูในสายสามัญให้มากยิ่งขึ้นเพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนครูสายสามัญของมณฑล
ปี 2490 ได้มีการสร้างอาคารหอนอน จุนักเรียนได้ 60 คน เรียกว่า “หอ90” ปัจจุบันคือโรงยิมเนเซียม
พ.ศ.2470 มณฑลพายัพได้รวมเอาการฝึกหัดครู สามัญชั้นตํ่า ประจำมณฑลแผนกชายซึ่งอยู่ที่โรงเรียนประจำมณฑล มาไว้ที่โรงเรียนฝึกครูกสิกรรมประจามณฑลที่ตำบลช้างเผือก
ปีการศึกษา 2490 ได้เปลี่ยนชื่อโรงเรียนใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับงานผลิตครู ว่า "โรงเรียนฝึกหัดครูเชียงใหม่" และเริ่มใช้สีดำและเหลืองเป็นสีประจำ โรงเรียนใช้สัญลักษณ์ "พระพิฆเนศวร์เทพเจ้าแห่งปัญญา“
นักเรียนรุ่นแรกมีอยู่ 28 คน คัดเลือกมาเรียนจากจังหวัดเชียงราย 6 คน จังหวัดลำพูน 5 คน จังหวัดแม่ฮ่องสอน 1 คนและจังหวัดเชียงใหม่ 16 คน
2503 วิทยาลัยครูเชียงใหม่ได้เริ่มงาน ตามโครงการฝึกหัดครูชนบท โดยได้ส่งนักศึกษาใน ระดับ ป.กศ. ออกฝึกสอนในโรงเรียนประถมศึกษา 5 โรงเรียน ในท้องที่อาเภอสันป่าตองจังหวัดเชียงใหม่
เริ่มทำการสอนเมื่อวันที่19พฤษภาคม 2467
ผู้อำนวยการท่านแรกของวิทยาลัยครูเชียงใหม่คือนายประสิทธิ์สุนทโรทก ซึ่งเข้ามารับตำแหน่งตั้งแต่ พ.ศ.2509การผลิตครูตามหลักสูตรประกาศนียบัตรประโยคครูประถม (ป.ป.) ซึ่งเดิมรับจากนักเรียนชั้นมัธยมปีที่6(ม.6) มาเรียนต่ออีก 3ปี
ปลูกสร้างเสร็จเมื่อวันที่5มิถุนายน 2467 ได้เปิดรับนักเรียนเข้าอยู่ประจำตามกำหนดคือวันที่1พฤษภาคม 2467
พ.ศ.2534 ผศ.สายสมร สร้อยอินต๊ะ จึงได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งอธิการ ซึ่งปี พ.ศ.2535 ได้เปลี่ยนการเรียกชื่อผู้บริหารจาก"อธิการ" เป็น "อธิการบดี" จึงนับได้ว่า ผศ.สายสมร สร้อยอินต๊ะ เป็นอธิการบดีคนแรก
ก่อสร้างเมื่อวันที่1เมษายน 2467
การก่อตั้งสถาบันราชภัฏ และมหาวิทยาลัยราชภัฏ
6 มีนาคม พ.ศ. 2538 พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระมหากรุณาธิคุณต่อชาวราชภัฏเป็นล้นพ้นด้วยทรงพระเมตตา ทรงพระกรุณาโปรดกล้าฯ พระราชทานพระราชลัญจักรประจำพระองค์ให้เป็น “สัญลักษณ์ประจำสถาบันราชภัฏ”
วันที่10 มิถุนายน พ.ศ. 2547 พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงลงพระปรมาภิไธย พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 และประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่14 มิถุนายน พ.ศ. 2547 ส่งผลให้สถาบันราชภัฏทั่วประเทศ ได้รับการยกฐานะและปรับเปลี่ยนสถานภาพเป็น“มหาวิทยาลัยราชภัฏ” ตั้งแต่วันที่15 มิถุนายน พ.ศ. 2547 เป็นต้นมา
วันที่14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535 พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อ “สถาบันราชภัฏ” ให้กับวิทยาลัยครูทั่วประเทศ จึงมีผลทำให้วิทยาลัยครูเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น สถาบันราชภัฏ
วันราชภัฏ ทุกวันที่14 กุมภาพันธ์ ของทุกปี เป็น “วันราชภัฏ”
สถาบันราชภัฏเชียงใหม่
ครุยวิทยฐานะใหม่ ตั้งแต่ประกาศใช้พระราชบัญญัติสถาบันราชภัฏ พ.ศ. 2538 ลักษณะและความหมายของครุยวิทยฐานะนั้น แถบสีประจำ สาขาวิชานั้น สังเกตได้ดังนี้
แถบสีแสด หมายถึง บัณฑิตสาขาวิชาศิลปศาสตร์
แถบสีเหลือง หมายถึง บัณฑิตสาขาวิทยาศาสตร์
แถบสีฟ้า หมายถึง บัณฑิตสาขาวิชาครุศาสตร์
วันที่14 กุมภาพันธ์ 2535 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนาม วิทยาลัยครูทั่วประเทศว่า "สถาบันราชภัฏ"
สีเขียว แทนแหล่งที่ตั้งของสถาบัน36แห่งที่อยู่ในแหล่งธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่สวยงาม
สีน้ำเงิน แทนสถาบันพระมหากษัตริย์
สีทอง แทนความรุ่งเรืองทางปัญญา
สีส้ม แทนความรุ่งเรืองทางศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น
สีขาวแทนความคิดอันบริสุทธิ์ของนักปราชญ์แห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ปัจจุบันมหาวิทยาลัยราชภัฏมีที่ตั้งในการดาเนินงานหลักอยู่4 พื้นที่
พื้นที่แม่สา
พื้นที่ศูนย์แม่ริม
พื้นที่เวียงบัว
วิทยาเขตแม่ฮ่องสอน
วิสัยทัศน์และพันธกิจของมหาวิทยาลัย
วิสัยทัศน์ “เป็นมหาวิทยาลัยชั้นน าระดับประเทศในการผลิตและพัฒนาครู และเป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น”
ปรัชญาของมหาวิทยาลัย “การศึกษาเป็นหัวใจของการพัฒนาท้องถิ่น”
วัตถุประสงค์
2) เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีอัตลักษณ์และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน
3) เพื่อนาองค์ความรู้และนวัตกรรมที่มีคุณภาพจากการวิจัยและการบริการวิชาการสู่การพัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืน น้อมน าแนวพระราชด าริ
1) เพื่อผลิตและพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพและได้มาตรฐานวิชาชีพ
4) เพื่อให้นักศึกษา บุคลากร และผู้สนใจ มีความรู้ความเข้าใจในคุณค่า ความส านึกและความภูมิใจในศิลปะและวัฒนธรรมของท้องถิ่นและของชาติ
5) เพื่อให้การบริหารมหาวิทยาลัยเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาลและการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี
อัตลักษณ์
ทักษะการแก้ปัญหา
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการตัดสินใจ
ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
ทักษะการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ
ทักษะการสร้างสัมพันธภาพระหว่างบุคคล
ทักษะการตระหนักรู้ในตน
ทักษะการเข้าใจผู้อื่น
ทักษะการจัดการกับอารมณ์
10.ทักษะการจัดการกับความเครียด
คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์
บุคลิกภาพดี หมายถึง บัณฑิตมีลักษณะท่าทาง การพูดจา การแต่งกายดี มีมนุษยสัมพันธ์ การวางตัวได้เหมาะสมกับกาลเทศะ และมีความเข้าใจในวัฒนธรรมข้ามชาติ
สุขภาพดีหมายถึงบัณฑิตมีสุขภาวะที่ดีครบทั้ง4ด้าน ได้แก่ สุขภาวะกาย สุขภาวะจิต สุขภาวะสังคม และสุขภาวะปัญญา
ความรู้ดี หมายถึง บัณฑิตรู้จักแสวงหาความรู้ มีความรู้และประสบการณ์ในสาขาวิชาที่ศึกษาและสามารถประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตได้อย่างเหมาะสม
พลเมืองดี หมายถึง บัณฑิตมีวินัย มีความรับผิดชอบ เคารพกฎระเบียบของสังคม เสียสละ มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ทำงานร่วมกับบุคคลอื่นได้และคำนึงประโยชน์ส่วนรวมมากว่าส่วนตน
คนดี หมายถึง บัณฑิตมีความสุภาพอ่อนน้อม กตัญญูรู้คุณ ขยัน ประหยัดซื่อสัตย์ อดทน มีสำนึกรักท้องถิ่นและความเป็นไทย
หลักสูตรวิชาการต่างๆ
5) คณะวิทยาการจัดการ
6) วิทยาลัยแม่ฮ่องสอน
4) คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
7) วิทยาลัยนานาชาติ
3) คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
8) วิทยาลัยพัฒนาเศรษฐกิจ (adiCET)
2) คณะเทคโนโลยีการเกษตร
9) บัณฑิตวิทยาลัย
1) คณะครุศาสตร์
10) โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
จัดทำโดย นางสาวดารารัตน์ วิทยาภรณ์อนันต์ รหัสนักศึกษา 63121008