Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่กับสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ - Coggle…
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่กับสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ปฐมกษัตริย์พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกรัชกาลที่ 1
ป้องกันราชอาณาจักร
การจัดองค์กรทางสังคมระบบศักดินา
การปกครองและการบริหารฟื้นฟูสถาบันกษัตริย์
ด้านศาสนามีการสังคายนาพระไตรปิฎก
ด้านเศรษฐกิจการค้ากับจีน
สร้างเมืองราชธานี
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
รัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
ธุรกิจการค้าของราชสำนักขาดทุนในขณะที่การค้าส่วนพระองค์ทำกำไรอย่างงาม
พระปรีชาสามารถด้านศิลปกรรม
เศรษฐกิจเงินตราและการค้าขยายตัว
รัชกาลที่ 3 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
มีระบบราชการเป็นกลไกการเก็บภาษี (ระบบเจ้าภาษีนายอากร) ชาวจีน
หนังสือจินดามณีเล่มที่ 2
ยกเลิกการค้าของหลวงเก็บภาษี 38 ชนิด
ความรู้บนฝาผนังวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร
รัชกาลที่ 4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย
นโยบายเปิดประตูสนธิสัญญาปี พ.ศ. 2398 (สนธิสัญญาเบาว์ริง) หากจะรักษาเอกราชของสยามเอาไว้ต้องเปิดประเทศและ ทำให้ทันสมัย
สนธิสัญญาเบาว์ริง
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระชนมายุ 15 พรรษา
การสร้างรัฐชาติแบบใหม่
ผู้สำเร็จราชการแทนพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์
การปฏิรูปการศึกษา
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 7
พระราชทานรัฐธรรมนูญ
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 6
ได้ทรงพยายามที่จะทดลองการปกครองแบบประชาธิปไตยดุสิตธานี
มีเสรีภาพทางด้านความคิด
จัดตั้งมหาวิทยาลัย
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาอานันทมหิดลรัชกาลที่ 8
ยุติความขัดแย้งระหว่างชาวไทยและชาวไทยเชื้อสายจีน
พระราชปรารภในการผลิตแพทย์เพิ่มขึ้น
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชรัชกาลที่ 9
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ 4,810 โครงการ
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
พระราชทานตรานี้แก่สถาบันอุดมศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลและมหาวิทยาลัยราชภัฏใช้เป็นตราประจำมหาวิทยาลัยแต่ละแห่งในเครือของตน
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณบดินทรเทพยวรางกูรรัชกาลที่ 10
สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนยากไร้
สร้างโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช
อาณาจักรกรุงศรีอยุธยา
การปกครอง
ฐานะของกษัตริย์กับประชาชนจึงห่างไกลกัน ข้าราชบริพารเป็นสื่อกลางระหว่างกษัตริย์ และประชาชน
ระบบเจ้าขุนมูลนายหรือศักดินา
ลัทธิเทวสิทธิ์+มโนทัศน์ธรรมราชาจากสุโขทัย
การปฏิรูปทางสังคม
ระบบศักดินา
ชนชั้นผู้ถูกปกครอง
ชนชั้นผู้ปกครอง
ระบบไพร่
ไพร่ส่วย
ไพร่สม
ไพร่หลวง
อาณาจักรธนบุรี
มีการสักไพร่ เพื่อจัดระเบียบชาติไทยขึ้นใหม่
อาณาจักรสุโขทัย
ลักษณะการปกครอง
พ่อปกครองลูก
หลักการปกครองแบบครอบครัวกษัตริย์เปรียบเสมือนพ่อของครอบครัวใหญ่ ซึ่งเรียกว่าพ่อขุน
มีความใกล้ชิดกัน
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจการเกษตร
โครงสร้างสังคม
ชนชั้นปกครอง กษัตริย์ พระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการ พระภิกษุสงฆ์
ชนชั้นที่ถูกปกครอง สามัญชนหรือไพร่และทาส