Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Tension pneumothorax ภาวะปอดถูกกดทับ, Chest injury - Coggle Diagram
Tension pneumothorax
ภาวะปอดถูกกดทับ
เกิดจากการบาดเจ็บที่ทำให้มีลมอยู่ใน pleural space และไม่สามารถระบายออกมาได้เกิด Respiratory compromise จากการเพิ่มขึ้นของ pleural pressure และเกิด Hemodynamic compromise จากการลดลงของ venous return ส่วนปอดข้างปกติจะทำงานลดลงเนื่องจาก mediastinal shift
เกิดจาก blunt หรือ penetrating trauma ลมอาจรั่วจากเนื้อปอด, bronchi, trachea หรือจากภายนอกผ่านบาดแผล ท่ีผนังทรวงอกเข้าสู่ช่องอกทำให้ปอดไม่ขยายตัวเกิดภาวะ hypoxia
ตรวจพบ trachea shift ไปด้านตรงข้าม, distended neck vein, absent breath sound, cyanosis, BP ลดลง
หายใจลำบาก
การรักษา
มีภาวะ hemodynamic compromise: needle decompression หลังจากนั้นทำการใส่ chest tube
ไม่มีภาวะ hemodynamic compromise: ใส่ ICD
ทำการตรวจ chest x-ray หรือ CT scan of chest หลังใส่ ICD
ในบางกรณีอาจจำเป็นต้องมีการผ่าตัดเปิดทรวงอก
(Emergency Thoracotomy) ในภาวะ Cardiac tamponade, massive hemothorax, uncontrolled air leak
Chest injury
Flail chest (ภาวะอกรวน)
ภาวะการทำงานล้มเหลวของกระดูกซี่โครง
การบาดเจ็บ ประกอบด้วยการหักของซี่โครงครงที่ติดกัน และในซี่โครงแต่ละซี่มีการหักมากกว่า 2 ตำแหน่ง 3 ซี่โครงขึ้นไป ถ้ามีการหักที่ตำแหน่งของ Costosternal segment เรียกกรณีนี้ว่า sternal flail chest ซี่โครงหลุดออกจาก sternal
กลไกการบาดเจ็บท่ีทำให้ Flail chest มีความรุนแรง
การหายใจแบบ paradoxical respiration ทำให้ปอดขยายได้ไม่เต็มท่ี
การฟกช้ำของปอดทำให้การแลกเปลี่ยนก๊าซไม่เหมาะสม
อาการปวดท่ีทำให้การไอและการหายใจไม่เต็มท่ี
การรักษาพยาบาล
มีเป้าหมายเพื่อลดอาการปวดให้มากที่สุดและให้ผู้ป่วยสามารถขับเสมหะให้ ได้มากที่สุด
การควบคุมอาการปวดทำได้โดยการให้ยาแก้ปวดกลุ่ม opioid หรือการให้ยาแบบผู้ป่วยควบคุมเอง (PCA) โดยยาที่ได้ผลมากที่สุดคือ Morphine sulfate
หากผู้ป่วยไม่สามารถไอได้ อาจมีการกระตุ้นการไอโดย การเคาะปอด ใช้ยาละลายเสมหะหรือการดูดเสมหะ
หลีกเลี่ยงการใส่เครื่องช่วยหายใจในผู้ป่วย Flail chest ได้ แต่ในกรณีท่ีผู้ป่วยมีภาวะ Hypoxemia หรือ Hypercarbia อาจต้องใส่เครื่องช่วยหายใจ เพื่อให้แน่ใจว่า Tidal volume และ respiratory rate ที่เพียงพอ
Open pneumothorax
ภาวะที่มีบาดแผลที่ผนังทรวงอกขนาดใหญ่กว่า 2/3 ของ เส้นผ่าศูนย์กลางของ trachea
เมื่อหายใจเข้าลมจากภายนอกจะผ่านบาดแผลนี้เข้าสู่ช่องอกเกิดภาวะ respiratory distress เรียกว่า "sucking chest wound
การรักษาทำโดยปิดบาดแผลที่ผนังช่องอกด้วย sterile occlusive dressing และใส่ chest tube
ถ้าผู้ป่วยยังมีปัญหาเรื่องการหายใจมาก ใส่ endotracheal tube และช่วยหายใจ เย็บปิดซ่อมแซมในห้องผ่าตัด
Massive hemothorax
ภาวะเลือดออกในช่องปอดปริมาณมาก
การตกเลือดในช่องปอดมากกว่า 1,500 ml
อาจมีอาการคล้าย tension pneumothorax เนื่องจากผู้ป่วย
มี decreased breath sound และมี engorged neck vein
การรักษาทำโดยใส่ chest tube และให้ fluid resuscitation
ถ้าเวลาที่ได้รับบาดเจ็บไม่นาน และมีเลือดออกจาก chest tube ทันทีมากกว่า 1,200-1,500 ml ติดต่อกัน
thoracotomy
ถ้ามีเลือดออกจาก chest tube มากกว่าชั่วโมงละ 100-200 ml. 4-6 ชั่วโมงติดต่อกัน
thoracotomy