Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Diabetes Mellitus (PBL2) :<3:, นางสาวสร้อยฟ้า วงค์ชัย ชั้นปีที่3 :<3…
Diabetes Mellitus (PBL2) :<3:
ภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวาน :star:
กลไกการเกิดโรคแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน :red_flag:
Neoenzymatic glycation :black_flag:
เมื่อระดับน้ำตาลในเลือดสูง กลูโคสจะจับกับโปรตีนโดยไม่ต้องอาศัยเอนไซม์
Polyol pathway :black_flag:
เมื่อระดับน้ำตาลในเลือดสูง กลูโคสเข้าไปในเซลล์
การกระตุ้น protein kinase C (PKC) และ diacylglycerol (DAG) pathway
ระดับน้ าตาลในเลือดสูง อาจทำให้เกิดความผิดปกติในการทำงานของหลอดเลือด
การเกิด artherosclerosis :black_flag:
กลไกการเกิดเริ่มจาก small dense LDL (low density lipoprotein)เข้าไปในผนังหลอดเลือดโดยยง่าย ถ้ามี endothelial ผิดปกติ
ชนิดของโรคเบาหวาน :star:
โรคเบาหวานชนิดที่ 1 :red_flag:
เกิดจากการทำลายเบตาเซลล์ของตับอ่อนทำให้ตับอ่อนไม่สามารถผลิตอินซูลินได้
โรคเบาหวานชนิดที่ 1 นี้สามารถพบได้ในทุกวัย แต่ส่วนใหญ่พบมักพบในเด็ก
โรคเบาหวานชนิดที่2 :red_flag:
เกิดจากภาวะดื้ออินซูลินร่วมกับความผิดปกติในการหลั่งอินซูลินของตับอ่อน
มักเกิดจากความผิดปกติทางพันธุกรรม และปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม
โรคเบาหวานชนิดที่3 :red_flag:
ภาวะcarbohydrate intolerance
homeostasis โดยมีการเพิ่มของฮอร์โมนที่ออกฤทธิ์ต้านอินซูลิน
โรคเบาหวานชนิดที่4 :red_flag:
สาเหตุมาจากโรคอื่นๆ
มีการทำลายเบตาเซลล์ของตับอ่อน
อาการและอาการแสดงของโรคเบาหวาน :star:
ปัสสาวะบ่อย โดยเฉพาะต้องตื่นมาปัสสาวะตอนกลางคืน
หิวบ่อย รับประทานจุ แต่น้ำหนักลด
เป็นแผลแล้วหายยาก
หิวน้ำบ่อย ดื่มน้ำมาก
ชาบริเวณปลายมือปลายเท้า
ตาพร่ามัว
น้ำหนักตัวลด
การวินิจฉัยโรคเบาหวาน :star:
ระดับน้ำตาลในเลือดหลังจากงดอาหาร :red_flag:
ปกติระดับน้ำตาลจะน้อยกว่า 100 มก./ดล.
ถ้าอยู่ระหว่าง 100-125 มก./ดล. ถือเป็นภาวะที่มีความเสี่ยง
ค่าน้ำตาลหลังรับประทานอาหารไปแล้ว 2 ชั่วโมง :red_flag:
ค่าน้ำตาลควรน้อยกว่า 140 มก./ดล.
อยู่ระหว่าง 140-199 มก./ดล. จะอยู่ในเกณฑ์เสี่ยงแต่ยังไม่เป็นเบาหวาน
ถ้าเกิน 200 มก./ดล. จะจัดว่าเป็นเบาหวาน
ภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน :star:
ภาวะแทรกซ้อนเรื้อรังของโรคเบาหวาน :red_flag:
ภาวะแทรกซ้อนที่จอประสาทตา :checkered_flag:
มีโอกาสที่จะตาบอดสูงกว่าผู้ที่ไม่ได้เป็น
เบาหวานเกือบ 30 เท่า
อาการและอาการแสดง :black_flag:
สายตามัวลง
เห็นเงาด้าบังเวลามองภาพ
มองเห็นภาพซ้อน
ภาวะแทรกซ้อนที่ไต :checkered_flag:
มีความสัมพันธ์กับการควบคุมระดับ
น้้าตาลในเลือด และการควบคุมระดับความดันโลหิต
อาการและอาการแสดง :black_flag:
ระยะแรกยังไม่มีอาการตรวจพบโปรตีนอัลบูมินในปัสสาวะประมาณ 30-300
มิลลิกรัมต่อวัน
สังเกตพบปัสสาวะเป็นฟองและมีอาการบวม
ตรวจพบความดันโลหิตสูงร่วมด้วยระยะนี้จะมีปริมาณมากกว่า 300
มิลลิกรัมต่อวัน)
ภาวะแทรกซ้อนเรื้อรังที่เส้นประสาท :checkered_flag:
ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่เส้นประสาท:black_flag:
ระดับน้้าตาลในเลือด
ภาวะความดันโลหิตสูง
สูบบุหรี่
อาการและอาการแสดง
:black_flag:
มีอาการชาที่ปลายมือปลายเท้าทั้งสองข้าง
รู้สึกชาและการรับสัมผัสลดลง
มีอาการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อแขนและขาได้
เส้นเลือดแดงใหญ่อุดตัน :checkered_flag:
มักเกิดขึ้นโดยเฉพาะบริเวณขา
อาการที่พบได้บ่อย :black_flag:
มีอาการปวดขามากเมื่อเดินหรือวิ่ง
ปลายเท้าเย็น ขนขาร่วง ผิวหนังบริเวณขาเงามัน
หากปล่อยทิ้งไว้โดยไม่ได้รับการรักษา :black_flag:
ทำให้เกิดภาวะเส้นเลือดอุดตันจนปลายเท้าขาดเลือด ติดเชื้อ
ตัดนิ้วเท้า หรือขาทิ้ง
เส้นเลือดหัวใจตีบ :checkered_flag:
เป็นภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง
เส้นเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจตีบ
ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
หากตีบรุนแรง
ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจตาย
ส่งผลให้เกิด
การบีบตัวของหัวใจลดลง
กิดหัวใจวาย
ความดันโลหิตต่ำ
หัวใจเต้นผิดจังหวะ
เส้นเลือดสมองตีบ :checkered_flag:
เป็นภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง
เมื่อเกิดภาวะเส้นเลือดสมองตีบ
ทำให้การทำงานของสมองและเส้นประสาทบริเวณที่ขาดเลือดลดลงหรือไม่ทำงาน
ส่งผลให้เกิดอัมพฤกษ์ อัมพาต
ภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลันจากเบาหวาน :red_flag:
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ (Hypoglycemia) :black_flag:
เป็นภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดลดลงอย่างผิดปกติ
อาการแสดงของภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำเฉียบพลัน :checkered_flag:
มือสั่นหรือใจสั่น
เหงื่อออก
รู้สึกหิว
มึนงง
แขนขาไม่มีแรง
ชักหรือหมดสติ
ภาวะน้ำตาลในเลือดสูงเฉียบพลัน (Hyperglycemia) :black_flag:
เป็นภาวะน้ำตาลในเลือดสูงร่วมกับมีอาการ
แบ่งออกเป็น 2 ภาวะ :!:
ภาวะคีโตอะซิโดซิส (DKA) :checkered_flag:
ภาวะกรดเมตาบอลิกจากกรดคีโตนคั่งในร่างกาย
ภาวะน้ำตาลในเลือดสูงที่มีระดับน้ำตาลในเลือดมากกว่า 250 mg/dL
ภาวะไฮเปอร์ไกลซีมิกไฮเปอร์ออสโมลาร์ (HHS) :checkered_flag:
ะออสโมลาริตี้ในเลือดมากกว่า 320 มิลลิออสโมล์ / กิโลกรัม
ภาวะน้ำตาลในเลือดสูงที่มีระดับน้ำตาลในเลือดมากกว่า 600 mg/dL
ระดับความรู้สึกตัวลดลง
การรักษาโรคเบาหวาน :star:
การควบคุมอาหาร :red_flag:
มีความสำคัญมากในการลดระดับน้ำตาลในเลือด
รับประทานได้อย่างไม่จำกัดจำนวน :black_flag:
ผักใบเขียวทุกชนิด
เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน
ไข่ขาว
รับประทานได้ในปริมาณจำกัด :black_flag:
ผลไม้ (แนะนำให้รับประทานผลไม้ชนิดหวานน้อย) :checkered_flag:
ฝรั่ง
ชมพู่
แก้วมังกร
การออกกำลังกาย :red_flag:
ช่วยให้อินสุลินทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
แนะนำว่าควรออกกำลังกายชนิดแอโรบิค
วิ่งเหยาะๆ ว่ายน้ำ ปั่นจักรยาน ให้ได้อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์
ออกกำลังกายชนิดต้านน้ำหนัก
การยกเวท เป็นเวลาอย่างน้อย 45 นาทีต่อวัน 2 วันต่อสัปดาห์
ไม่ควรนั่งอยู่เฉย ๆ หรือนอนเล่นพักผ่อนเกิน 90 นาที หากเกินควรลุกขึ้นเปลี่ยนอิริยาบท :forbidden:
การใช้ยา :red_flag:
ปัจจัย :black_flag:
มีหลักฐานยืนยันว่าการควบคุมเบาหวานที่ดีสามารถลดโรคแทรกที่เกิดจากเบาหวาน
การวินิจฉัยเบาหวานใช้เกณฑ์ 126 มก.%ทำให้เริ่มรักษาเบาหวานเร็วขึ้น
ความปลอดภัยของยามีมากขึ้นเกิดภาวะน้ำตาลต่ำน้อยลง
ยาเม็ดลดระดับน้ำตาลออกเป็น 2 ประเภท :black_flag:
เสริมการออกฤทธิ์ของอินซูลิน :checkered_flag:
Metformin
Troglitazone
Acarbose
ยาเพิ่มการหลั่งของอินซูลิน :checkered_flag:
Sulfonylurea
Repaglinide
Insulin
ยาฉีดอินซูลิน :black_flag:
อินซูลินแบ่งเป็ น 4 ชนิด :checkered_flag:
1.ฮิวแมนอินซูลินออกฤทธิ์สั้น Regular human inslin , RI
2.ฮิวแมนซูลินออกฤทธิ์ปานกลาง Intermadiate acting insulin , NPH
อินซูลินอะนาล็อกออกฟทธิ์เร็ว Rapid acting insulin analog , RAA
4.อินซูลินอะนาล็อกออกฤทธิ์ยาว Long acting insulin analog , LAA
การวางแผนการพยาบาล :star:
ข้อวินิจฉัย 1.ผู้ป่วยมีภาวะน้ำตาลกลูโคสในเลือดสูง เรื่องจากการเผาผลาญผิดปกติ เพราะขาดอินซูลิน :red_flag:
วัตถุประสงค์ :
น้ำตาลกลูโคสในเลือดลดลงสู่ระดับปกติ :black_flag:
เกณฑ์การประเมิน :black_flag:
1.ระดับกลูโคสในเลือดค่อยๆลดลง serum glucose < 200mg/dl
กิจกรรมทางการพยาบาล :black_flag:
1.ประเมินการค่อยๆลดลงของระดับน้ำตาลกลูโคสในเลือด เพราะระดับน้ำตาลในเลือดจะลดลง 50-200 mg/dl หลังผู่ป่วยได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำทดแทนไปแล้ว 1-2 ชั่วโมงจากการแก้ไขภาวะขาดน้ำ (initial rehydration) :checkered_flag:
2.การให้อินซูลินจะเริ่มหลัง initial rehydration โดยปฎิบัติดังนี้ :checkered_flag:
2.1 ดูแลให้ regular insulin (RI) ขนาด 0.1 unit/kg//hr โดยใช้ infusion pump เพื่อความแม่นยำของขนาดอินซูลินที่ให้ เนื่องจากอินซูลินจะจับกับ infusion set ดังนั้นก่อนต่อเข้าตัวผู้ป่วยต้องเปิดสายทิ้งไป 10-20 ml เพื่อ saturate binding site ด้านในสายก่อนแล้วจึงต่อเป็น side-line คู่ไปกับสานน้ำที่ให้ และเปลี่ยน infusion set ที่ใช้ให้อินซูลินทุก 24 ชั่วโมง
2.2 ประเมินระดับน้ำตาลในเลือดทุกชั่วโมงควรลดลงในอัตรา 75-100 mg/5/hr เมื่อระดับน้ำตาลในเลือดลดลงเหลือ 250-300 mg/dl ให้เปลี่ยนเป็นสารน้ำที่มี 5% taxtrose เป็นส่วนประกอบเช่น 5% D/N/2
2.3 ดูแลให้ RI infusion อย่างต่อเนื่องตามแผนการรักษาเพื่อลดภาวะ Wetonemia และ acidosis และรักษาระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในช่วง 150-250 mg / dl เมื่อผู้ป่วยอาการดีขึ้นเปลี่ยนมาเป็น R1 ฉีดเข้าใต้ผิวหนังซึ่งต้องให้ก่อนหยุด RI infusion ประมาณ 1/2-1 ชั่วโมงเพื่อป้องกันการขาดอินซูลินชั่วคราวซึ่งอาจทำให้เกิด rebound hyperglycemia ได้หากใช้ชนิด rapid-acting insulin เช่น aspart, lispro ต้องฉีดเข้าใต้ผิวหนังก่อนหยุด Al infusion ประมาณ 10-15 นาที
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล 2.ผู้ป่วยมีภาวะขาดน้ำเนื่องจากปัสสาวะออกมากเพราะระดับน้ำตาลในเลือดสูง (osmotic diuresis) :red_flag:
วัตถุประสงค์
ได้รับสารน้ำทดแทนเพียงพอ :black_flag:
เกณฑ์การประเมินผล :black_flag:
V/S ปกติ: BP>290/60 mmHg, HR 60-100 bpm,
สมดุล intake/output (urine output 230 cc./hr.)
CVP 8-12 cm.H2O
ระดับความรู้สึกตัวปกติ
Skin turgor ปกติ, capillary refill < 3 วินาที
กิจกรรมทางการพยาบาล :black_flag:
1.ประเมิน v/s ทุก 15 นาที เมื่อคงที่เปลี่ยนเป็น 30 นาที และ 1 ชั่วโมง ตามลำดับ
2.ประเมินอาการและอาการแสดงที่บ่งถึงการไหลเวียนไม่พอ และเฝ้าระวัง hypovolemic shock เช่น BP < 90/60 mmHg, HR> 100 ครั้ง / นาที, CVP < 8 cm.H2O urine output < 30 cc / hr, decrease skin turgor, capillary refil> 3 วินาทีถ้าพบรายงานแพทย์ทันที
ดูและให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำและอินซูลินตามแผนการรักษาและระวังการให้สารน้ำที่มากเกินโดยประเมินอาการและอาการแสดงที่บ่งถึงการไหลเวียนที่มากเกินเช่น neck vein extension, หายใจลำบาก, ปอดมีเสียง crepitation, CVP > 12 cm.H2O
ประเมินสมดุลย์ intake / output ทุก 2-3 ชม.
ติดตามประเมิน EKG ตลอดเวลาและแก้ไขภาวะที่ทำให้หัวใจเต้นผิดปกติเช่น acidosis, hypoxia, hypokalemia, hyperkalemia
วินิจฉัยการพยาบาล 3.การแลกเปลี่ยนก๊าซไม่มีประสิทธิภาพ (impaired gas exchange) เนื่องจากการระบายอากาศและการกำซาบไม่สมดุลจากภาวะเลือดเป็นกรดเพราะ DKA :red_flag:
วัตถุประสงค์
ประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนก๊าซกลับสู่ภาวะปกติ :black_flag:
เกณฑ์การประเมินผล :black_flag:
V/S ปกติ: RR ปกติ 12-24 ครั้ง / นาที, SpO, 3 ปกติ 95-100%
ผล ABG ปกติ: pH 7.35-745, Pco2, 35-45 mEq/L, HCO3-22-26 mEq/L, Pao2 80-100 mmHg
เสียงปอดปกติไม่มี Kussmaul breathing
ไม่พบลักษณะริมฝีปาก ปลายมือ และปลายเท้าซีดเขียว
กิจกรรมการพยาบาล :black_flag:
ประเมินการหายใจอย่างทั้งอัตราการหายใจและรูปแบบการหายใจถ้าพบความผิดปกติเช่น RR < 10 หรือ 30 ครั้ง / นาที Kussmaul breathing, Sp02 < 95% ลักษณะริมฝีปากปลายมือ ปลายเท้าซีดเขียว รายงานแพทย์
ติดตามผล ABG พร้อมเตรียมอุปกรณ์ใส่ท่อช่วยหายใจและเครื่องช่วยหายใจไว้ให้พร้อม
โดยการจัดท่าให้หายใจสะดวกดูดเสมหะให้ทางเดินหายใจโล่งและดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอและจัดการช่วยในการหายใจตามแผนการรักษาเช่นช่วยแพทย์ในการใส่ท่อช่วยหายใจและเครื่องช่วยหายใจ ช่วยให้ปอดมีการแลกเปลี่ยนก๊าซดีขึ้น
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 4.ผู้ป่วยมีภาวะไม่สมดุลของอิเล็กโทรไลต์เนื่องจากสูญเสียไปกับปัสสาวะที่ออกมากเพราะ Osmotic diuresis และอาเจียน :red_flag:
วัตถุประสงค์
มีภาวะสมดุลอิเล็กโทรไลต์เกณฑ์ :black_flag:
การประเมินผล :black_flag:
ระดับอิเล็กโทรไลต์ในเลือดปกติ :checkered_flag:
-Serum K กลับสู่เกณฑ์ปกติ 3.8-5.1 mEq/L
-serum Na กลับสู่เกณฑ์ปกติ 135-145 mEq/L -serum HCO3 > 15mmol/L
อาการคลื่นไส้อาเจียนมากลดลงหรือหมดไป :checkered_flag:
กิจกรรมการพยาบาล :black_flag:
ติดตามประเมินระดับ Serum K, serum Na และ serum bicarbonate ทุก 2-4 ชั่วโมง
ดูแลให้โปรแตสเซียมทดแทนการให้ K ทดแทนควรเริ่มหลังจาก initial rehydration และเริ่มให้ insulin infusion แล้วยกเว้นกรณี serum K < 2.5 mmol/L อาจให้ K ไปพร้อมกับ initial rehydration ได้เลยโดยผสม KCL ในสารน้ำให้ทางหลอดเลือดดำซึ่งอัตราที่ให้ต้องไม่เกิน 0.5 mmol/kg/hr และควรหยุดให้ AI ชั่วคราวจนกว่า serum K > 2.5 mmol/L และขณะให้ต้องติดตามประเมิน EKG และอาการผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
ดูแลให้โซเดียมทดแทนระยะแรก (initial rehydration) สารน้ำที่ให้ทดแทนคือ 0.9% NSS 10ml/kg/hr ใน 4-6 ชั่วโมงแรกของการรักษาแล้วจึงเปลี่ยนชนิดของสารน้ำให้เหมาะสมกับผลตรวจอิเล็กโตรไลท์การแก้ไขภาวะขาดน้ำใน 24 ชั่วโมงแรกควรลดระดับน้ำตาลในเลือดลงมาอยู่ในช่วง 200-300 mg / dl โดยที่ระดับ Na ปกติหรือเปลี่ยนแปลงเล็กน้อยทำได้โดยการให้ 0.9% NSS หรือ 0.45% NSS
ข้อควรระวังในการให้โซเดียม :black_flag:
1) เสี่ยงต่อการเกิด cerebral edema จากการให้สารน้ำที่มี osmolality ต่ำหรือให้ในอัตราที่เร็วเกิน
2) ระดับ Na ที่ตรวจได้ต่ำกว่าความเป็นจริง (psudo-hyponatremia) ซึ่งพบได้ในผู้ป่วย DKA ที่มีระดับ triglyceride ในเลือดสูง
การให้ไบคาร์บอเนต (HCO3) ทดแทนจะให้ในกรณีที่ผู้ป่วย DKA 1) มีภาวะช็อคและ 2) persistent severe acidosis (pH < 6.9 หรือ HCO3 < 5 mmol/L) คือภาวะ acidosis ไม่ดีขึ้นหลังการให้ initial rehydration และ insulin infusion จึงพิจารณาให้ Na HCO3 1-2 mmol/kg ทางหลอดเลือดดำอย่างช้าๆในเวลา 1 ชั่วโมงโดยให้เพียงครั้งเดียว
เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนที่จากการให้ไบคาร์บอเนต ได้แก่ cerebral edema, severe hypokalemia
นางสาวสร้อยฟ้า วงค์ชัย ชั้นปีที่3 :<3:
รหัสนักศึกษา 116212201114-8 :check: