Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ราชภัฏเชียงใหม่ภายใต้วิถีล้านนา - Coggle Diagram
ราชภัฏเชียงใหม่ภายใต้วิถีล้านนา
แกนหลัก
เชียงใหม่-ลุ่มน้ำปิง
เชียงแสน-เชียงราย-ลุ่มแม่น้ำกก
ประวัติศาสตร์ล้านนา
ดินแดนล้านนา
อาณาบริเวณที่ประกอบด้วยเมืองกลุ่มหนึ่ง ที่มีความสัมพันธ์ทางเครือข่ายหรือทางวัฒนธรรมในอดีตรัฐโบราณไม่มีอาณาเขตชัดเจนแต่ในยุคสมัยที่อาณาจักรล้านนาเจริญรุ่งเรือง
เคยมีอิทธิพลแพร่ออกไปอย่างกว้างขวางถึงดินแดนเชียงรุ่ง สิบสองปันนาและรัฐฉานตอนใต้ สำหรับดินแดนที่สำคัญของล้านนาอยู่ในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย
อาณาจักรล้านนาผนวกดินแดนเมืองแพร่และน่าน ได้ในสมัยพระเจ้าติโลกราชและอยู่ในอาณาจักรล้านนาได้ไม่นานมาก อาณาจักรล้านนาก็ล่มสลายลงในสมัยพระปกครองจะใช้วิธีแบ่งแยกเมืองต่าง ๆ
กลุ่มเมืองและแนวตะวันตกซึ่งเป็นเกณฑ์สำคัญเชียงใหม่ลำพูน ลำปาง เชียงราย พะเยา ที่มีความสัมพันธ์ร่วมกันตั้งแต่สมัยราชวงศ์มังรายต้น
ส่วนกลุ่มเมืองและนายตะวันออก แพร่และน่านทั้งสองเมืองมีประวัติความเป็นมาคล้ายกัน คือในสมัยแรกเริ่มต่างมีฐานะเป็นรัฐอิสระมีราชวงศ์ของตนเอง และมีความใกล้ชิดกับอาณาจักรสุโขทัย
หนองบัว
เป็นแหล่งรับน้ำและกักเก็บน้ำที่ไหลมาทางตอนเหนือก่อนที่จะปล่อยลงสู่คูเมือง
ชั้นนอกใกล้แจ่งศรีภูมิแล้วไหลรอบกำแพงเมืองชั้นนอกด้านทิศตะวันออกและทิศใต้ ไปบรรจบลำโขงไหลลงไปทางทิศใต้และลงสู่แม่น้ำปิง
หวยแม่ข่าที่ไหลเลาะกำแพงเมืองชั้นนอก มีชื่อปรากฏในตำนานอีกอย่างหนึ่งว่าแม่โถ แต่ในสมัยหลังมักเรียกกันว่าคลองแม่ข่า
เชียงใหม่ให้ความสำคัญกับแรงดันมาก หากบ้านเมืองขาดน้ำแล้วจะถึงว่าบ้านเมืองชะตาขาด
ภูมิศาสตร์
ล้านนา : เมืองสิบแสนนา "ทสลกเขตนคร"
อัตลักษณ์และนำมาสู่ความเป็นมาของเมืองเชียงใหม่
พิพิธภัณฑ์
เป็นแหล่งเรียนรู้ประเภทหนึ่งที่ให้ความรู้และความเพลิดเพลินในอดีตพิพิธภัณฑ์เป็นเพียงเจ้าหน้าที่เก็บรวบรวมวัตถุที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ ตลอดจนวัตถุที่มีความสำคัญทางธรรมชาติวิทยาศาสตร์และศิลปะวัตถุ
สถาบันล้านนาศึกษา
เป็นแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับกลุ่มชาติติพันธ์และวิถีชีวิตชาวล้านนา เมื่อประกอบกับความหมายของพิพิธภัณฑ์ข้างต้น จึงทำให้สถาบันและนักศึกษาเป็นพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น
เรือนอนุสารสุนทร
สร้างขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์ในวาระครบรอบ 125 ปีหลวงอนุสารสุนทรคหบดีผู้บุกเบิกการค้าในเมืองเชียงใหม่นอกจากนั้นยังสร้างขึ้น เพื่อเป็นเรือนคู่แฝดกับเรือนคำเที่ยง
ซึ่งอยู่ในสยามสมาคมในพระบรมราชูปถัมภ์ที่กรุงเทพมหานคร
เพื่อให้เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านเรือนโบราณล้านนา
อาคารเทพรัตนราชสุดา
การก่อตั้งอาณาจักรล้านนา
ดินแดนล้านนาเริ่มในต้นพุทธศตวรรษที่ 19 เมืองสถาปนานครเชียงใหม่พ.ศ 1839 นับถึงปัจจุบันเชียงใหม่มีอายุกว่า 700 ปีการศึกษา
พระเจ้ากาวิละ
สภาพการณ์เป็นไปในเช่นนี้ ระยะเวลาหนึ่งเมื่อพระยาจ่าบ้านเสียชีวิตลง
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช จึงทรงโปรดเกล้าแต่งตั้งพระเจ้ากาวิละ เป็นเจ้าเมืองเชียงใหม่แทน
พระเจ้ากับเวลาเริ่มตั้งมั่นที่เวียงป่าซาง ในปีพ.ศ 2325 จากนั้นจึงเข้าตั้งเมืองเชียงใหม่ในปีพ.ศ 2339 จึงเป็นปีที่เชียงใหม่มีอายุครบ 500 ปี
จึงได้ฟื้นฟูเมืองเชียงใหม่ รวบรวมพลเมืองเข้ามาตั้งถิ่นฐานในเมืองเชียงใหม่
กำเนิดล้านนาและการสร้างเมืองเชียงใหม่
สร้างเชียงใหม่ขึ้นเมื่อปี พ.ศ.1839 นับถึงปัจจุบันก็ได้ 724 ปี แต่เมื่อนับเชื้อสายของพระเจ้ามังรายที่คลองเชียงใหม่ก็ได้ 262 ปี
พระเจ้ามังรายทรงทำสงครามแผ่ราชอาณาจักร เพื่อรวมไทยภาคเหนือเข้าด้วยกัน ขณะเดียวกันพ่อขุนรามคำแหงผู้เป็นสหายก็สถาปนาอาณาจักรสุโขทัยขึ้นทางภาคกลางและมีอาณาเขตติดต่อกัน ทั้งสองพระองค์จึงไม่ได้รุกรานซึ่งกันและกัน
พระเจ้ามังรายคลองเมืองกุมกามอยู่จนถึงพ.ศ1834 วันหนึ่งพระองค์เสด็จประพาสล่าสัตว์ทางทิศเหนือไปถึงเชิงดอยอ้อยช้าง (ดอยระกาหรือดอยสุเทพ) ทรงประทับแรมอยู่ ตำบลบ้านแหน ได้ 3 เพลา พระองค์ทรงทอดพระเนตรเห็นสถานที่ชัยภูมิตรงนั้นดีมาก เป็นทำเลที่เหมาะสำหรับการสร้างเมืองอยู่อาศัย
ในราตรีนั้นพระองค์ทรงสุบินนิมิตว่ามีบุรุษผู้หนึ่ง คือเทพยดาจาแรง มาบอกกับพระองค์ว่าหากพระองค์ มาสร้างเมืองอยู่ที่นั่นจะประสบความเจริญรุ่งเรืองยิ่ง
กลุ่มชาติพันธ์ในล้านนา
ไทใหญ่
ไทยวน
ไทลื้อ
ลัวะ
ไทเขิน