Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิเคราะห์แนวโน้มของการจัดการศึกษา ในสภาพการณ์ต่าง ๆ, นางสาวจุฬาลักษณ์ …
วิเคราะห์แนวโน้มของการจัดการศึกษา
ในสภาพการณ์ต่าง ๆ
สภาพทางสังคม
การศึกษาไทยในโลกของยุคใหม่
เนื้อหาของทุกกระบวนวิชาควรจัดการศึกษาแบบ “ความคิดรวบยอดเ
มีการผนวกรวมบูรณาการศาสตร์และศิลป์เข้าให้เป็นเนื้อเดียวกัน
รัฐต้องให้มีการขยายช่วงระยะเวลาที่ยาวออกไปของการศึกษาภาคบังคับ
การศึกษาไทยต้องยกมาตรฐานของตนเองสู่มาตรฐานที่ต่างชาติยอมรับได้
ให้ความสำคัญต่อการนำเทคโนโลยีมาใช้ในทุกกระบวนวิชา
การศึกษาไทยต้องมีการเพิ่มโอกาสการเรียนรู้ตลอดชีวิต
สามารถปรับเปลี่ยนไปตามความต้องการทางด้านสังคมด้
ปัญญาของชาติ : Thailand Model
Internationalization ก้าวไปให้ทันกับสภาวะที่ทันสมัย
Localism สร้างความน่าเชื่อถือให้กับคนในภูมิภาคประชาคมอาเซียน
Academic Pursuit มีความรู้ที่ชัดเจนในสาขาหรือในศาสตร์ที่ตนเองได้ศึกษาเล่าเรียนมา
Accountability on Ethics มีคุณธรรมจริยธรรมที่ดีงามถูกต้อง
Hospitality สมานฉันท์และแบ่งปัน
Nationalism ความภาคภูมิใจในชาตินิยม
Technology เรียนรู้เทคโนโลยีมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งเทคโนโลยีดิจิทัล
Democracy สภาวะประชาธิปไตยที่ยั่งยืน
อนาคตทางการศึกษาของชาติ
อย่าให้ระบบการศึกษา “เกาะติด/ยึดติด” อดีตจนถึงปัจจุบันจนเกินไป (Over concerns)
สร้างสังคมที่จากเดิมเป็นสังคมไมตรีสัมฤทธิ์ (Affiliate Society) ให้เป็นสังคมสัมบูรณ์สัมพันธ์ (Absolute Society)
การศึกษาจำเป็นต้องศึกษาถึงบริบทของสังคมในอนาคตทุกมิติ (Future Oriented)
ระบบการบริหารจัดการที่ต้องมีการกระจายอำนาจอย่างแท้จริง
สร้างและให้โอกาสทางการเรียนรู้ให้กับทุกคนในรัฐชาติที่มีสัญชาติไทย (Thai Nationality)
ลักษณะของสังคมโลกยุคใหม่
. เป็นสังคมฐานการเรียนรู้ =ขับเคลื่อนด้วยสื่อทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางด้านความรู้ต่างๆ
เป็นสังคมแบบย่อส่วน =ระบบดิจิทัล และระบบอื่นๆ อีก ทำให้โลกมีสภาพที่แคบลง
เป็นสังคมที่ไร้ขีดจำกัดของข้อมูลข่าวสาร
สภาพทางเศรษฐกิจ
ผลกระทบด้านเศรษฐกิจที่มีผลต่อการศึกษา
แนวโน้มเพิ่มความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา
โอกาสหลุดออกจากระบบทางการศึกษา
ความท้าทายด้านเศรษฐกิจและการศึกษาจาก COVID-19
รัฐต้องคิดมาตรการรับมือในกรณีที่เด็กต้องออกจากโรงเรียนอย่างถาวร
วางทิศทางการศึกษาในอนาคตเพื่อตอบรับกับเศรษฐกิจ
สภาพทางเศรษฐกิจนำไปสู่แนวทางการศึกษาในอนาคต
ยุติความเหลื่อมล้ำการศึกษาด้วยความเสมอภาค หมายถึงคนทุกคน ขณะที่ ‘All’ ใน All for Education (AFE) หมายรวมถึงทรัพยากรทั้งหมดที่มี
การสร้างหลักประกันการศึกษาที่มีคุณภาพ คือ เป้าหมายที่ 4 (SDG4) หนึ่งในเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
ทิศทางใหม่ของโลกอนาคต
การเรียนการสอนข้ามสาขาวิชา (interdisciplinary)
การปรับเปลี่ยนระบบการศึกษา
การปรับเปลี่ยนระบบการศึกษา
เป้าหมายของการศึกษาในระยะยาว
การที่ผู้เรียนได้ค้นพบตัวเองว่าคุณเป็นใคร ชีวิตต้องการอะไร แล้วคุณจะอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างไร
ผู้เรียนต้องมีทักษะในการแก้ปัญหาชีวิตได้จริงๆ ซึ่งเราต้องออกแบบระบบใหม่เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตัวเอง
การปรับหลักสูตรตัวอย่างในประเทศสิงคโปร์
เป็นโลกเทคโนโลยีดิจิทัล
การเขียนโค้ด (Coding) การคิดเชิงคำนวณ
วิทยาการคอมพิวเตอร์
รายวิชาหน้าที่พลเมือง บรรจุเนื้อหาเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพจิต
ปรับรูปแบบหลักสูตรให้เป็นสหวิทยาการ
การสร้างหลักสูตรให้พุ่งตรงไปยังการสร้างสมรรถนะของผู้เรียน เพื่อที่เขาจะสามารถแก้ปัญหา
3.สภาพทางทรัพยากรมนุษย์
แนวโน้มการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของไทยในอนาคต
ลักษณะงานของทรัพยากรมนุษย์
ลักษณะงานทรัพยากรมนุษย์มีความสำคัญเทียบเท่างานบริหารหลักๆ ขององค์กร
ลักษณะงานให้ความสำคัญกับมาตรฐานแรงงานสากล
ลักษณะงานทรัพยากรมนุษย์เป็นยุคเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ลักษณะงานเป็นการทำงานหลากหลายวัฒนธรรมต้องปรับให้เข้ากับบริบท
คุณลักษณะของนักบริหารทรัพยากรมนุษย์
นักบริหารทรัพยากรมนุษย์จะต้องเป็นตัวแทนการเปลี่ยนแปลง
นักบริหารงานบุคคลมีคุณลักษณะเป็นคนซื่อสัตย์ในหน้าที่
ชอบพัฒนาตนเอง บุคลิกภาพนักบริหารงานบุคคลต้องดี
มีความสามารถสร้างเครือข่ายทั้งในและต่างประเทศ
นักบริหารทรัพยากรมนุษย์ต้องเป็นคนช่างสังเกตและจดจำพูดตรงไปตรงมา
ประเด็นสำคัญการบริหารทรัพยากรมนุษย์
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ที่บูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ด้วยความเข้าใจมนุษย์
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม
การพัฒนานักบริหารทรัพยากรมนุษย์ให้เป็นนักสร้างการเปลี่ยนแปลง
แนวโน้มการบริหารและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์หลัง
Covid-19
การสรรหาและคัดเลือกทรัพยากรมนุษย์
ประชากรศาสตร์
เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ
ผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 26.9 ในปี 2573 และ 37.1 ในปี 2593
มีนโยบายและระบบการดูแลผู้สูงอายุให้สอดคล้องกับสถานการณ์ในปัจจุบัน
แรงงานอายุน้อยมีจำนวนลดลง
แรงงานผู้สูงอายุมีแน้วโน้มมากขึ้น
การฝึกอบรมและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
Self-management
การเรียนรู้เชิงรุก และกลยุทธ์การเรียนรู้
ความยืดหยุ่น ทนต่อความเครียด
Working with people
ภาวะผู้นำ
อิทธิพลทางสังคม
Problem-solving
การแก้ปัญหาที่ซับซ้อน
การคิดเชิงวิพากษ์
การคิดเชิงวิเคราะห์และนวัตกรรม
ความคิดสร้างสรรค์ และคิดริเริ่ม
การใช้เหตุผล การแก้ปัญหา
Technology use and development
การใช้เทคโนโลยี การเฝ้าติดตาม
การออกแบบเทคโนโลยี
แนวโน้มการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในอนาคต
รักษาคนเก่งให้อยู่กับองค์กร
นำกลยุทธ์ที่เกี่ยวกับดิจิทัลมาช่วยในการเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร
ผลิตคนให้เหมาะกับงาน
การศึกษากับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
แนวโน้มการศึกษากับการพัฒนา
ทรัพยากรมนุษย์ในอนาคต
ดร.รัตนา แสงบัวเผื่อน
การดำเนินงานจัดการศึกษาและพัฒนาหลักสูตร
การออกแบบหลักสูตร
กรอบหลักสูตรต้องมีชัดเจน
ปัจจัยนำไปสู่การปรับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แนวคิด นักวิจัยของ OECD (Mr. Dick Van Dame)
ความรู้ (Knowledge)
ทักษะ (Skill)
ทัศนคติ (Attitude)
ค่านิยม (Values)
การแนวโน้มการศึกษากับการพัฒนา
ทรัพยากรมนุษย์หลัง Covid-19
รู้ที่จะเรียน
รูปแบบวิธีการเรียนรู้
เรียนรู้ที่จะรอด
เรียนรู้ที่จะรอด
รักที่จะเรียนรู้
สำรวจสืบค้น
ทดลองปฏิบัติ
สร้างเสริมประสบการณ์
แลกเปลี่ยนแบ่งปัน
เรียนรู้ที่จะรัก
รักษาผลประโยชน์ส่วนรวม
พัฒนาทักษะความฉลาดรู้
เกื้อกูลและแบ่งปัน
เคารพกฎกติกา
4.สภาพเทคโนโลยี
การขับเคลื่อนเทคโนโลยีในอนาคต
เป้าหมายการพัฒนาดิจิทัล
ระยะที่ 2 (5 ปี) ทุกภาคส่วนมรส่วนร่วม
ระยะที่3 (10 ปี) ก้าวสู่ดิจิทัลไทยแลนด์
ระยะที่ 1 (1 ปี 6เดือน)ลงทุน สร้างฐานในการผลิต
ระยะที่ 4 (10-20 ปี) ก้าวสู่ประเทศที่พัฒนาแล้ว
กลไกการขับเคลื่อน
นำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
ติดตามและประเมินผล
การมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี
เป้าหมายและ
การเปลี่ยนแปลง
ช่วยในการแก้ปัญหาได้หลายหลากวิธี ซึ่งเทคโนโลยีในอนาคตจะต้องอยู่บนพื้นฐานของข้อมูล
สาเหตุการเปลี่ยนแปลง
ความก้าวหน้าของศาสตร์ต่าง ๆ
เศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม
ปัญหาและความต้องการของมนุษย์
การคาดการณ์เทคโนโลยีในอนาคต
ระบบอัตโนมัติ (Automation)
Distributed Ledger Technology
การพิมพ์สามมิติ (3D Printing)
การประมวลผลควอนตัม (Quantum Computing)
ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence)
Augmented reality (AR)
5.ภาพอนาคตการศึกษาและ
การเรียนรู้ของประเทศไทย
การศึกษา 5.0 ภาพอนาคตของประเทศไทย
ภาพอนาคต
การศึกษาระดับปฐมวัยหรืออนุบาล
ให้ความสำคัญและพัฒนาจัดการให้มีแหล่งศึกษา
เน้นการนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เหมาะสมทันต่อโลกของการเปลี่ยนแปลง
การศึกษาระดับประถมศึกษา
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
มีความรู้ ความสามารถในการอ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น
การศึกษาระดับมัธยมศึกษา
เน้นให้ผู้เรียนมีความรู้ทางวิชาการ
วิชาชีพให้เหมาะสมกับวัย
การศึกษาระดับอุดมศึกษา
มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเอง
ประยุกต์หลักการสู่การปฏิบัติจริง
ภาพอนาคตการศึกษาและการเรียนรู้
แกร่ง (ผู้เรียน)
เคียงบ่าเคียงไหล
โดเด่น
มั่นคง
คานงัด
ล้ำหน้่า
หยั่งลึก (องค์ความรู้)
กำหนดนโยบายที่ชูการศึกษาปฐมวัยให้เป็นปัจจัยการสร้างพื้นฐานของชีวิตที่แข็งแกร่ง
กระจาย (อำนาจ)
ความเป็นเอกภาพ
หลากหลายในวิธีการสอน
ยกระดับ (การศึกษา)
คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ทั่วถึง เท่าเทียม
ผู้เรียนมีคุณลักษณะสอดคล้องกับผู้เรียนในศตวรรษที่ 21
พลิกพลัง (บุคลากรทางการศึกษา)
ศรัทธา
ครูมีความศรัทธาต่ออาชีพของตนเอง มีการพัฒนาตนสู่
ความเป็นมืออาชีพ
มั่นคงและยั่งยืน
กำหนดภาระงานครูให้อยู่ในขอบเขตของการจัดการเรียนรู้
ประเมินสมรรถนะตามสภาพจริง
นำผลมาพัฒนาและปรับปรุงสมรรถนะ
ชั้นยอด
มีระบบการคัดเลือกคนเก่งเข้ามาเป็นครู
ความหมายของภาพอนาคต
วิธีการศึกษาและวางแผนอนาคตของสังคมระดับต่าง ๆ มีแนวโน้มเปลี่ยนแปลงจากการใช้ข้อมูลและแนวโน้มต่าง ๆ มาเป็นการคาดการณ์อนาคต ที่เรียกกันว่า ภาพอนาคต (Scenario
นางสาวจุฬาลักษณ์ อักษร