Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยเด็ก ปัญหาระบบทางเดินอาหารที่พบบ่อย, นางสาวดวงฤทัย ใจบุญ …
การพยาบาลผู้ป่วยเด็ก
ปัญหาระบบทางเดินอาหารที่พบบ่อย
โรคและการพยาบาลผู้ป่วยเด็ก
ที่มีความผิดปกติแต่กำเนิด
🙋🏼♂️6․Inguinal Hernia and Hydrocoele
(ไส้เลื่อนและถุงน้าบริเวณขาหนีบ)
✳การคงอยู่ของกระพุ้งเยื่อบุช่องท้องที่ยื่น
ตามลูกอัณฑะเลื่อนลงไปในถุงอัณฑะ
( Processus Vaginalis ) ก่อให้เกิดความผิดปกติ กลายเป็นไส้เลื่อนหรือถุงน้ำได้
✳ไส้เลื่อนบริเวณขาหนีบ ( Inguinal Hernia )
⇒ การที่อวัยวะในช่องท้องเลื่อนลงไปในกระพุ้ง ของเยื่อบุช่องท้องที่ยื่นตามลูกอัณฑะลงไป
ในถุงอัณฑะ
สาเหตุ
✍🏿การคงอยู่ของกระพุ้งเยื่อบุช่องท้องที่ยื่นตาม
การเลื่อนลงของลูกอัณฑะ ❌หมายความว่าเด็ก
เป็นไส้เลื่อน แต่มีโอกาสที่จะเป็นไส้เลื่อนได้มาก
เนื่องจากต้องอาศัยปัจจัยนำบางประการ
✳เฉพาะอย่างยิ่งการเพิ่มแรงกดดันในช่องท้อง
พยาธิสภาพ
✳ไส้เลื่อนในเด็กมีอันตรายมากกว่าในผู้ใหญ่
✳เฉพาะในเด็กเล็ก จะลงมาค้าง หรือทำให้เลือดไปเลี้ยง ลำไส้ไม่เพียงพอ เพราะมีเลือดคั่งอยู่มาก และในที่สุด ทำให้ลำไส้ตาย เกิดเนื้อเยื่อเน่าตามมาได้ และบ่อยครั้ง
ที่ลำไส้ทะลุ
✳ลำไส้เลื่อนที่ลงมาค้างยังไปกดลูกอัณฑะ
ทำให้เลือดไปเลี้ยงลูกอัณฑะน้อยลงจนเน่าและฝ่อได้
การวินิจฉัย
✍🏼1․จากประวัติ ✳มีก้อนบริเวณเหนือขาหนีบ
และข้างหัวเหน่าเข้าๆ ออกๆ ✳เวลาเบ่ง
ไม่ว่าเบ่งอุจจาระ ปัสสาวะ ไอ หรือร้องไห้ก็ตาม
✍🏼2․การตรวจดูโดยให้ไอ หรือเบ่ง หรือแหย่ให้ร้องไห้
จะสังเกตเป็นก้อนนูนลงไปในถุงอัณฑะ
✍🏿3․การคลำ อาจคลำได้ก้อนนุ่มๆ ของขดลำไส้
ที่เลื่อนไหลลงไป หรือถ้าไม่มีก้อนให้เห็น
ขณะตรวจ อาจคลำได้ถุงของไส้เลื่อน และถ้าถูกัน
จะเกิดความรู้สึกเหมือนกับผ้าไหมถูกันได้
✍🏿4․การตรวจด้วยนิ้วมือทางทวารหนัก คลำ
ขอบช่องทางออกด้านใน (Internal Ring)
ได้ขดของลำไส้ที่เลื่อนลงไปเป็นก้อนอยู่ในถุงอัณฑะ
การรักษา
✳แนะนำให้เด็กรีบผ่าตัดโดยเร็ว เป็นภาวะกึ่งฉุกเฉิน
เพราะมีอันตรายจากไส้เลื่อนลงมาค้างมาก และการผ่าตัดใน
เด็กทำเพียงตัดถุงไส้เลื่อนออกเท่านั้น ✳เรียกว่า Herniotomy
ไม่ต้องผ่าเสริมอย่างผู้ใหญ่ เพราะในเด็กมีความพิการ
แต่กำเนิดมิใช่เกิดขึ้นภายหลังอย่างในผู้ใหญ่
✳✍🏼ถุงน้ำ(Hydrocoele)
⇒ เกิดจากส่วนกระพุ้งเยื่อบุช่องท้องที่ยื่นตาม
ลูกอัณฑะเลื่อนลงไปในถุงอัณฑะสลายตัวไม่หมด หลงเหลืออยู่ เกิดเป็นถุงน้ำขึ้นตอนใดก็ได้หรือ
ยังคงอยู่ตลอดก็ได้
✳เป็นก้อนในถุงอัณฑะที่พบบ่อยมาก
การรักษา
✳ถุงน้ำในเด็กเล็กต่ำกว่า 1 ปี อาจยุบหายไปเองได้
จึงไม่จำเป็นต้องทำผ่าตัด นอกจากใหญ่มาก
ทำให้เด็กอึดอัดมาก
✳ถ้าเกิน 1 ปีแล้วไม่หายจึงพิจารณารักษาโดยการผ่าตัด
การผ่าตัดชนิดนี้เรียกว่า Hydrocoelectomy 🔪
การวินิจฉัย
✍🏿1․มักไม่มีอาการอะไรนอกจากมีก้อน
✍🏿2․ลักษณะของก้อน
อาจกลม รูปไข่ คลาได้นุ่มนิ่มแบบถุงน้ำ
เลื่อนไปเลื่อนมาได้ทุกทิศทาง แต่ดันไม่เข้าช่องท้อง
มีประวัติเป็นมานานชั่วระยะเวลาหนึ่งแล้ว
และไม่เจ็บปวดแต่อย่างใด
คลำแยกจากลูกอัณฑะได้ง่าย
โรคหรือความผิดปกติอื่น ๆ
ของทางเดินอาหาร
Intussusception (ลำไส้กลืนกัน)
✳ภาวะลำไส้อุดกั้นที่ต้องการการรักษาอย่างรีบด่วน
อย่างหนึ่งในเด็ก
สาเหตุ
✳ร้อยละ 90 ไม่ทราบสาเหตุแน่นอน อาจเกิดจากความแตกต่าง
ในขนาดของ Ileum กับ caecum เพราะพบว่าเกิดภาวะนี้
ที่บริเวณรอยต่อ Ileum กับ caecum ได้สูงถึงร้อยละ 90
สาเหตุอื่นๆ เช่น เกิดมีการเคลื่อนไหวของลาไส้ไม่สัมพันธ์กัน
ชนิดของลำไส้กลืนกัน
แบบของลำไส้กลืนกันนี้อาจเป็น
⇒ ลำไส้เล็กกลืนลำไส้เล็ก
⇒ ลำไส้ใหญ่กลืนลำไส้เล็ก
⇒ ลำไส้ใหญ่กลืนลำไส้ใหญ่
ลำไส้เล็กกลืนลำไส้เล็กแล้วถูกลำไส้ใหญ่กลืน
อีกชั้นหนึ่งก็ได้
✳ พบในเด็กชายมากกว่าเด็กหญิง 2 : 1
ไม่มีอาการเจ็บป่วยมาก่อน ไม่มีอาการเจ็บป่วยมาก่อน
✳ข้อน่าสังเกต เด็กกลุ่มนี้ จะแข็งแรงสมบูรณ์ดี
✳ไม่ค่อยจะพบในเด็กที่ผอมขาดอาหารและร่างกายไม่สมบูรณ์
✳พบมากในเด็กชายอายุประมาณ 8 เดือน
Intussusception (ลำไส้กลืนกัน) ต่อ
อาการและการตรวจพบ
1․มีอาการปวดท้องแบบ Colicky pain ขณะปวดมีหน้าซีด ตัวงอ และยกขา
ทั้ง 2 ข้าง อาการปวดจะมีเป็นระยะๆ พักหนึ่งราว 15 –20 วินาที พร้อมกับร้อง
พอหยุดปวดเด็กจะหยุดร้อง และดูเหมือนปกติดี หยุดพักปวดราวๆ 5 – 10 นาที
ก็จะปวดใหม่เป็นพักๆ
2․อาเจียน ต่อมามีความรู้สึกอยากถ่ายอุจจาระ อุจจาระที่ถ่าย
ในระยะแรกๆ จะยังมีลักษณะปกติอยู่
✳ถ้าปล่อยทิ้งไว้ส่วนใหญ่อาการปวดท้องจะถี่มากขึ้น
เด็กมีอาเจียนมากขึ้นและถ่ายอุจจาระมีสีมูกปนเลือด (เรียกว่า Currant jelly stool) เลือดที่ออกนี้อาจออกเพียงเล็กน้อยหรือออกมากจนทำให้เกิดอาการ Shock
3․ถ้าไม่ได้รับการรักษาทันท่วงที เด็กอาจเสียชีวิตได้ใน ระยะเพียง 2 –4 วัน ภายหลังมีอาการ
4․ในระยะแรกไม่มีไข้ แต่ในระยะหลังไข้จะสูงขึ้นเนื่องจาก
ภาวะขาดน้ำ และจะสูงขึ้นเมื่อลำไส้มี gangrene และทะลุ
การวินิจฉัย
1․จากประวัติ โดยมีอาการปวดท้องเป็นระยะๆ มีอาเจียนและบางราย
มีอุจจาระเป็นมูกเลือด เป็นเด็กที่สมบูรณ์ไม่มีการเจ็บป่วยร้ายแรงอื่นๆ มาก่อน
2․จากการตรวจร่างกายคลำพบก้อนรูปไส้กรอก หรือการตรวจทางทวารหนัก
คลำพบส่วนของลำไส้ที่กลืนกัน
3․จากภาพรังสีช่องท้องที่แสดงถึงภาวะลำไส้อุดกั้น แต่ที่สำคัญคือ
การสวน Barium ที่พบมีลักษณะขดลวดสปริง (Coil spring)
ของลำไส้เล็กส่วนปลาย
4․การตรวจพบอื่น ๆ ที่แสดงถึงภาวะลำไส้อุดกั้น ภาวะขาดน้ำหรือ
การอักเสบภายในช่องท้อง
การักษา
1․รักษาอาการShock แก้ภาวะขาดน้ำ และอาการ
ที่เกิดจากภาวะลำไส้อุดกั้น เจาะเลือดหา
ระดับ hemoglobin และ electrolyte ในเลือด,
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ และใส่ NG tube ก่อน
2․ถ้าไม่มีอาการแสดงของเยื่อบุช่องท้องอักเสบ ควรสวน Barium เพื่อการวินิจฉัยและทา hydrostatic reduction
3․ถ้ามีอาการแสดงของเยื่อบุช่องท้องอักเสบ หรือ
ทำ hydrostatic reduction แล้วยังไม่ได้ผล ก็ต้องผ่าตัด
เพื่อคลายลำไส้ส่วนที่กลืนกันออก และตัดไส้ติ่งอักเสบ ออกด้วย ถ้ามีเนื้อลาไส้ตายก็ต้องตัดส่วนนั้นออก
โดยตัดต่อเลย (primary anastomosis)
การประเมินปัญหาและแนวทางแก้ไข
1․ก่อนผ่าตัด
․🙋🏼♂️ปัญหาการพยาบาล
เสี่ยงต่ออันตรายจากการขาดน้ำและสูดสำลัก
จากอาเจียน
เสี่ยงต่อภาวะ Shock จากเสียเลือด ลำไส้ฉีกขาด
หรือช่องท้องอักเสบ
ไม่สุขสบายจากความเจ็บปวดในช่องท้องอย่างรุนแรง
🙋🏼♂️✳แนวทางปฏิบัติ
ควบคุมสารน้ำทางเส้นเลือดดำ
ตรวจสอบบันทึก Intake / Output
วัดปรอททางรักแร้ดูการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ
ที่อาจจะสูงขึ้นได้
บรรเทาอาการเจ็บปวดตามแผนการรักษา
ประเมินการหายใจ ชีพจร ท้องอืด
ที่อาจจะเปลี่ยนแปลงได้ง่าย
เตรียมความสะอาดร่างกาย
🙋🏼♂️✳แนวทางปฏิบัติ (ต่อ)
ลักษณะของอาเจียน และอุจจาระ
อาการซีด
ให้ข้อมูลถูกต้องแก่ครอบครัว และมีส่วน ในการดูแลเด็ก
ส่งทำ Barium enema ตามเวลา
✳ถ้าดีขึ้นทดลองให้อาหารได้
ถ่ายปกติ อาจจาหน่ายได้ใน 48 ชั่วโมง
งดอาหารและน้า เตรียมผ่าตัด
2․หลังผ่าตัด
🙋🏼♂️✳ปัญหาการพยาบาล
อาจมีความผิดปกติของแผลผ่าตัด
เสี่ยงต่อการขาดน้ำและสารอาหาร
การทางานของลำไส้ผิดปกติ
✳🙋🏼♂️แนวทางการปฏิบัติ
รักษาความสะอาดของแผล ลดการติดเชื้อ
สังเกตอาการเจ็บปวดในท้อง
ใส่ NG tube ลดการคั่งค้างของ content
Irrigate NG tube ด้วย NSS วันละ 2 ครั้ง
✳🙋🏼♂️แนวทางการปฏิบัติ (ต่อ)
Record Intake / Output (Urine 1 c․c․ = 1 gm กรณีที่ต้องชั่งผ้าอ้อม)
ควบคุมปริมาณสารน้าหรือ Plasma อย่างถูกต้อง
ชั่งน้าหนักวันละครั้ง
ให้ครอบครัวได้มีส่วนร่วมในการดูแลเด็ก
ด้านร่างกายและจิตใจ
เตรียมครอบครัวก่อนจาหน่าย
นางสาวดวงฤทัย ใจบุญ
รหัสนักศึกษา 6203400086
หน้า 2