Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรภาพไตและทางเดินปัสสาวะ - Coggle Diagram
พยาธิสรีรภาพไตและทางเดินปัสสาวะ
PATHOPHYSIOLOGY OF RENAL
SYSTEM
Anatomy
ไต (Kidney)
ท่อไต (ureter)
กระเพราะปัสสาวะ (Bladder)
ท่อปัสสาวะ (urethra)
เส้นเลือดด า เส้นเลือดแดงและระบบท่อน ้าเหลือง
(Renal a., vein, lymphatic drainage)
Physiology
หน้าที่ของไต (KIDNEY FUNCTION)
กรองของเสียออกจากร่างกาย
ก าจัดน ้าส่วนเกินออกจากร่างกาย
เป็ นต่อมไร้ท่อ (Hormonal regulation)
ควบคุมความดันโลหิต ผ่านระบบ Renin angiotensin
กระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดแดง ผลิด erythropoietin
ควบคุมปริมาณแคบเซียม ผ่านhormone
Pathology
นิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ
นิ่ว สามารถเกิดในระบบทางเดินปัสสาวะ ได้หลายรูปร่างและต าแหน่ง เช่น นิ่วรูปร่างเขากวาง (staghorn) มีทั ้งประเภททึบ
แสงและ ไม่ทึบแสง ซึ่งไม่สามารถเห็นได้ด้วยX-ra
เกิดจากการตกผลึกของสารก่อนิ่วในปัสสาวะ ท าให้เยื่อบุไตอักเสบ รวมกับสารก่อนิ่วเป็นผลึกนิ่ว
แบ่งตามตำแหน่งการเกิด
นิ่วในทางเดินปัสสาวะ ส่วนบน; renal calyces, renal pelvis, ureter
นิ่วในทางเดินระบบปัสสาวะ ส่วนล่าง; bladder, urthra
แบ่งตามส่วนประกอบ
นิ่ว calcium oxalate ซึ่งพบได้ ร้อยละ80
นิ่วกรดยูริค
อาการแสดง (clinical manifestation)
ปวดตื้อบั้นเอว
ปัสสาวะสะดุด
ปัสสาวะเป็นทราบ/กรวด/เม็ดหิน
การรักษา
การผ่าตัด
การใข้คลื่นshock waveยิงสลายนิ่ว
การใช้ยาลดการเกิดนิ่ว/สลายนิ่ว
รักษาตามอาการ
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
อาการแสดง (clinical manifestation)
ปัสสาวะแสบขัด (dysuria)
เบ่งปัสสาวะ
กลั้นปัสสาวะไม่ได้ (urgency)
ปัสสาวะขุ่น/มีฟอง/ปนเลือด
ปวดท้องน้อย
ปวดบั้นเอว (flank pain)
มีไข้
ตรวจร่างกาย (physical examination)
Tender at suprapubic are
CVA Tenderness positive
การรักษา (Treatment)
Medical treatment
Antibiotic ให้ยาที่ครอบคลุมเชื้ อgram negativeเช่น กลุ่มfluoroquinolone (ofloxacin,ciprofloxacin), กลุ่ม3rd generationcephalosporin (Ceftriaxone)
Supportive เช่น ยาแก้ปวด
Nonmedical treatment
ดื่มน ้าให้เพียงพอ
รักษาความสะอาด ไม่สวมเสื ้อผ้ารัดแน่น/อับชื ้น
ไม่กลั้นปัสสาวะ
เช็ดท าความสะอาดบริเวณช่องคลอดจากหน้าไปหลัง
ล้างอวัยวะเพศและปัสสาวะก่อนมีเพศสัมพันธ
ปัสสาวะมาก ( Polyuria )
ปัสสาวะมากเกิดจาก
มีภาวะโรคเบาจืด
มีภาวะ Psychogenic polydipsia
มีโรคเบาหวาน
โรคเกียวกับไต
อาการปัสสาวะมาก
กลุ่ม Solute diuresis
กลุ่ม Water diuresis
การตรวจวินิจฉัย
บันทึกความถี่ในการปัสสาวะ และสิ่งที่ทําให้คิดว่าปริมาณปัสสาวะเพิ่มมากขึ้น
สังเกตสีและลักษณะอื่นๆ ของปัสสาวะ
สังเกตอาการปวดปัสสาวะช่วงเข้านอน ว่าต้องตื่นและลุกมาเข้าห้องนํ้ากลางดึกหรือไม่ บ่อยแค่ไหน
การรักษา
กรณีผู้ป่ วยมีภาวะ Center DI หรือมีภาวะเบาจืดที่เกิดจากความผิดปกติของฮอร์โมน ADH ซึ่งเป็นโรคเกี่ยวกับการเสียสมดุลของ
นํ้าในร่างกาย ใจความสําคัญในการรักษาก็จะเป็นการลดปริมาณปัสสาวะด้วย 3 แนวทาง
Low solute diet : การใช้อาหารที่มีความเข้มข้นตํ่า เพื่อลดการขับปัสสาวะของร่างกาย
Desmopressin : เป็นการใช้สารสังเคราะห์ที่ทําหน้าที่เทียบเท่ากับฮอร์โมน ADH ในร่างกาย โดยจะเริ่มที่ 5 mcg
ก่อน แล้วค่อยปรับค่าเพิ่มหรือลดตามความเหมาะสม
ใช้ยาอื่นๆ ที่สามารถลดปริมาณปัสสาวะได้ ตัวอย่างเช่น carbamazepine, NSAIDs, thiazid diuretic
กรณีผู้ป่ วยที่มีภาวะ Nephrogenic DI หรือภาวะเบาจืดจากความผิดปกติของหน่วยไ
Low sodium, Low protein diet
ใช้ยาในกลุ่ม amiloride ซึ่งเป็นยาขับปัสสาวะชนิดหนึ่ง โดดเด่นในเรื่องของการลดปริมาณนํ้าและเกลือแร่ในปัสสาวะ
Desmopressin : ใช้เมื่อรักษาด้วยแนวทางอื่นแล้ว ยังไม่ได้ผลที่น่าพอใจ
กรณีที่ผู้ป่ วยเป็น Primary polydipsia ก็สามารถรักษาเบื้องต้นได้ง่ายๆ ด้วยการจํากัดนํ้า และอาจใช้การรักษาในทางจิตเวชร่วม
ด้วย หากผู้ป่ วยมีสัญญาณเกี่ยวกับภาวะทางจิต
ปัสสาวะออกน้อย ( Oliguria and Anuria )
AKI (Acute kidney injury)
Pre-renal AKI
Burn and acute pancreatitis
Postoperative AKI
Nephrotoxic drug associated AKI
Post-renal AKI
Endogenous toxin
Sepsis-associated AKI
Tumor lysis syndrome
Intrinsic AKI
ผลกระทบ
มีอาการบวมของร่างกาย
ระดับฮอร์โมนอดรีนัลเพิ่งขึ้นสูงกว่าปกติ
มีการหลั่งสารเรนินจากเซลล์ผนังหลอดเลือดในส่วนของไตมากขึ้
น
เกิดนิ่วในกระเพาะปัสสาวะตามมาและถ้ารุนแรงเรื้อรังไปเรื่อยๆ
การตรวจร่างกายและวินิจฉัยโรควินิจฉัย
ประวัติเกี่ยวกบไตโดยเฉพาะ
ความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยและติดเชื้อ
ลักษณะของปัสสาวะ
ประวัติโรคมะเร็ง
อาการข้างเคียงอื่นๆ เช่น อาการปวดปัสสาวะที่ผิดปกติ
การรักษา
ทานน้ำให้มากขึ้น
ป้องกนและลดอัตราการสูญเสียนาของ ร่างกายในทุกกรณี
ดูแลเรื่องสารอาหารให้สมดุล
ฝึ กวินัยในการปัสสาวะ
โรคกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
สาเหตุ
กล้ามเนื้ออุ้งเชิงกรานหยอนลงในเพศหญิง
ปัสสาวะบ่อยมากในช่วงกลางวัน
กระเพาะ, ปัสสาวะไวเกิน
ปัสสาวะบ่อยในช่วงเวลากลางคืน
ปัสสาวะล้นซึม
การตรวจวินิจฉัยและการรักษา
ประวัติการเจ็บป่ วยในอดีต
ประวัติการคลอดบุตร
สภาพทางจิตใจและอารมณ
อาชีพความเป็ นอยูทางสังคม
อาหารและน้ำดื่ม เครื่องดื่ม น้ำชา กาแฟ แอลกอฮอล์ บุหรี่
การรักษา
การบริหารฝึ กฝนกล้ามเนื้ออ้งกราน
ุ Kegel Exercise
การบริหารทานยา
การผ่าตัดรักษาผ่านบริเวณช่องคลอด
ปัสสาวะคั่งค้าง(Urinary Retention)
อาการ
ปัสสาวะไม่ออกเฉียบพลัน (Acute Urinary Retention)
ปวดปัสสาวะแต่เบ่งปัสสาวะไม่ออก
ปวดแน่นท้อง รู้สึกไม่สบายบริเวณท้องช่วงล่าง
ท้องอืดบริเวณท้องช่วงล่าง
ปัสสาวะไม่ออกเรื้อรัง (Chronic Urinary Retension)
มีอาการแสบขัดขณะปัสสาวะ
อาการ
ต้องออกแรงเบ่งให้ถ่ายปัสสาวะออก
ปัสสาวะสะดุด น้ำปัสสาวะที่ออกมาหยุดเป็นช่วง ๆ
ปวดปัสสาวะอีกครั้งหลังจากเพิ่งปัสสาวะเสร็จ
รู้สึกแน่นท้องหรือปวดบริเวณท้องช่วงล่าง
บางรายอาจไม่พบอาการผิดปกติใด ๆ
สาเหตุ
ท่อปัสสาวะอุดตัน
ต่อมลูกหมากโต (Benign Prostatic Hyperplasia:BPH)
อวัยวะภายในอุ้งเชิงกรานหยอน (Genitourinary Prolapse) พบได้ในผู้หญิง
ท่อปัสสาวะตีบแคบ (Urethral Stricture)
ท้องผูก
นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
ไส้ตรงยื่นย้อย (Rectocele)
กล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะอ่อนแรง
การวินิฉัย
การวัดปริมาณปัสสาวะที่ตกค้าง (Post-Voiding Residual Volume)
การส่องกล้องทางเดินปัสสาวะ (Cystoscopy)
เอกซเรย์คอมพิวเตอร์หรือซีทีสแกน (CT-scan)
การตรวจเอ็มอาร์ไอ (Magnetic Resonance Imaging: MRI)
การตรวจพลศาสตร์ระบบทางเดินปัสสาวะ (Urodynamic Study)
การตรวจคลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้อหรืออีเอ็มจี (Electromyography)
การรักษา
การระบายนํ้าปัสสาวะ (Bladder Drainage)
การใช้ยา มักใช้รักษาอาการฉี่ไม่ออกที่มีสาเหตุมาจากโรคต่อมลูกหมากโต
การผ่าตัด หากการรักษาในข้างต้นไม่ช่วยให้อาการให้ดีขึ้นหรือผู้ป่ วยมีอาการรุนแรงมาก
ภาวะแทรกซ้อน
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
กระเพาะปัสสาวะเสียหายหรือทํางานผิดปกต
ไตทํางานผิดปกต
ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่ได
ภาวะโปรตีนในปัสสาวะ
วิธีการตรวจ
ใช้แทบตรวจปัสสาวะจุ่มในปัสสาวะแล้วเทียบส
วัดปริมาณ Protein ที่ขับออกมาตลอด 24 ชัวโมง
การตรวจปัสสาวะหาค่า Protein Creatinine
ผู้ป่วยที่เสี่ยงต่องปัจจัยภาวะโปรตีนในปัสสาวะ
ผู้ป่วยโรคเบาหวานทั้งชนิดที่ 1และชนิดที่ 2 การตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะจะเป็ นสัญญาณของการเป็ นโรคไต
ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
ผู้ป่วยโรคไตอักเสบ
ปัจจัยที่มีผลต่อโปรตีนในปัสสาวะ
หากตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะกไม็ ่ได้หมายความถึงจะเป็ นโรคไตเพราะมีหลายภาวะที่ทําให้ตรวจ
ปัสสาวะแล้วพบโปรตีน
การออกกำกาย
ภาวะหัวใจวาย
การติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ
มีไข้
การใช้ยา NSAID,aceI,ARB
คนอ้วน
โปรตีนในปัสสาวะหายเองได้หรือไม่
โปรตีนในปัสสาวะที่หายเองได้ Transient proteinuria มักจะพบในคนที่มีไข้ หรือออกกาลังกาย อยู่ที่หนาว
โปรตีนในปัสสาวะเมื่ออยูในท่ายืน Orthostatic (postural)
เมื่อตรวจปัสสาวะ 2-3ครั้งยังพบโปรตีนทุกครั้งที่ตรวจเราเรียกว่า Persistent proteinuria
เมื่อตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะแพทย์จะตรวจอะไรต่อ
ซักประวัติเพิ่มเติมโดยเฉพาะประวัติการใช้ยา
วัดความดันโลหิต
เจาะเลือดตรวจเช่น การทํางานของไต
ตรวจเลือดหาระดับน้ำตาลในเลือด
ตรวจเลือดหาระดับไขมันในเลือด
นําปัสสาวะไปส่องกล้องตรวจหาเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว
วัดระดับโปรตีนในปัสสาวะ24 และระดับ creatinine
ตรวจเลือดเพื่อหาวามีโรค SLE
ตรวจ Ultrasound ของไต
บางรายอาจจะต้องเจาะชิ้นเนื้อไตเพื่อตรวจเนื้อไต
ความสําคัญของการตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะ
ปริมาณโปรตีนในปัสสาวะจะเป็ นตัวที่กาหนดวาผู้ใดจะกลายเป็นโรคไตวาย ปัสสาวะน้อยโอกาศเสี่ยงที่จะกลายเป็นโรคไตวายจะตํ่า
ผู้ที่มีโปรตีนในปัสสาวะจะไม่มีอาการอะไร หากมีปริมาณโปรตีนในปัสสาวะปริมาณมากเวลาปัสสาวะลงในโถส้วมจะเป็ นฟอง หากร่างกายสูญเสียโปรตีนไปมากจะทําให้เกิดอาการบวมบริเวนเท้า หนังตา