Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูเเลผู้ป่วยที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมประเทศตอินโดนีเซีย กลุ่ม 8 -…
การดูเเลผู้ป่วยที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมประเทศตอินโดนีเซีย กลุ่ม 8
ภาพรวมถิ่นกำเนิดประเทศอินโดนีเซีย
ทิศตะวันออกมีอาณาเขตติดกับประเทศปาปัวนิวกิน
ทิศตะวันออกเกาะอีเรียนจายามีอาณาเขตติดกับเฉียงเหนือประเทศฟิลิปปินส
ทิศเหนือเกาะบอร์เนียวมีอาณาเขตติดกับรัฐชาราวัคและรัฐซาบาห์ของมาเลเซียทิศใต้มีเกาะห้อมล้อมสาธารณรัฐประชาธิปไตยติมอร์-เลสเต
ทิศตะวันตกเฉียงเหนือเกาะสุมาตรามีอาณาเขตติดกับประเทศมาเลเซีย
สาธารณรัฐอินโดนีเซีย เป็นหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลกเป็นหมู่เกาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ระหว่างมหาสมุทร
แปซิฟิกกับมหาสมุทรอินเดียและระหว่างทวีปเอเชียกับออสเตรเลีย
การสื่อสารประเทศอินโดนีเซีย
ภาษาอินโดนีเซีย (อินโดนีเซีย: Bahasa Indonesia; อังกฤษ: Indonesian Language) เป็นภาษาทางการของประเทศอินโดนีเซียภาษาอินโดนีเซียได้พัฒนามาสู่สถานะของภาษาราชการเมื่อ
อินโดนีเซียประกาศเอกราชใน พ.ศ. 2488 โดยเริ่มต้นจากการปฏิญาณซุมปะฮ์เปอมูดาเมื่อ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2471 ภาษาอินโดนีเซียในรูปแบบมาตรฐาน จัดเป็นภาษาเดียวกับภาษามาเลเซีย
(ภาษามลายูมาตรฐานในมาเลเซียและบรูไน) แต่มีความแตกต่างจาก ภาษามาเลเซียหลายประการเช่น การออกเสียงและค าศัพท์ความแตกต่างนี้มาจากอิทธิพลของภาษาชวาและภาษาดัตช์
บทบาทและสถาบันครอบครัว
มารดามีบทบาทในเรื่องนี้มากที่สุดเนื่องจากมีโอกาสได้ ใกล้ชิดและคลุกคลีกับบุตรมากกว่าผู้เป็นบิดา แบบแผนในการอบรมบุตร
ในครอบครัว แบ่งออกเป็น 3 ลักษณะใหญ่ คือ
ภรรยารับผิดชอบการเลี้ยงดูบุตรเป็นหลัก และก็รับภาระการทำงานบ้านเช่นเดียวกัน โดยสามีอาจเข้ามามีส่วนร่วมบ้างเป็นบางโอกาส
ภรรยาต้องการทำอาชีพร่วมกับสามี โดยมอบหน้าที่การเลี้ยงดู บุตรให้เป็นของพี่เลี้ยงหรือญาต
ภรรยารับผิดชอบการเลี้ยง ดูบุตรเต็มตัว โดยไม่ต้องรับภาระการทางานนอกบ้าน
บทบาทของสามีในการอบรมเลี้ยงดูบุตร บทบาทของผู้เป็นบิดาโดยส่วนใหญ่ คือ เน้นการใช้เวลา แม้เวลาจะมีเวลาอยู่ร่วมกันเพียงเล็กน้อยแต่ผู้เป็นบิดาก็พยายามท าหน้าที่อย่างเต็มที่ในการแสดงความรักและให้ความอบอุ่นต่อลูก การอบรมเลี้ยงบุตรในครอบครัวมีมาตรการการลงโทษบุตรบ้างตามความเหมาะสมเพื่อเป็นการเสริมสร้างวินัย ในบางครอบครัว
ประเด็นชนชั้นประเทศอินโดนีเซีย
เป็นสังคมที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของความเท่าเทียมกันของมนุษย
เป็นสังคมที่พิทักษ์รักษาจริยธรรมอันดีงามแห่งหลักอัคลากในอิสลาม
ประเด็นเรื่องชนชั้น (workforce issues) การปกครองตนเอง ลักษณะเฉพาะของสังคมอิสลาม
เป็นสังคมที่ปกป้องความยุติธรรมทางสังคมปกป้องสิทธิเสรีภาพของมนุษย์ รูปแบบการสื่อสารของกลุ่มเชื้อชาติเดิมอินโดนีเซียมีประชากรที่พูดภาษาต่างๆมากกว่า 100 ภาษา ภาษาถิ่นที่ใช้ในการสื่อสารต่างกันอีกด้วยส่วนภาษาบาฮาซาอินโดนีเซียที่เป็นภาษาราชการนั้นมีความคล้ายคลึงกับภาษามาเลย์มีการนำคำในภาษาต่างประเทศมาใช้มากมาย
นิเวศวิทยาทางชีววัฒนธรรมประเทศอินโดนีเซีย
ความแตกต่างทางกายภาพ มีความแตกต่างที่เห็นได้ชัด คือ สตรีมุสลิมในอินโดนีเซียไม่ต้องแต่งกายหรือคลุมร่างกายทุกส่วนเหมือนสตรีมุสลิมอาหรับบ ศาสนาหลักทุกศาสนาที่เข้ามาเผยแพร่ในอินโดนีเซีย มักมีพฤติกรรมผสมผสานและเปลี่ยนแปลงไปบ้าง
ตามความเชื่อดั้งเดิมของชาวอินโดนีเซียซึ่งเป็นชาวเกาะ มีความเชื่อในลัทธิถือผีหรือจิตวิญญาณ (Animism)
สมุนไพรประจำถิ่น คล้ายคลึงกับสมุนไพรไทยมาก ไม่ว่าจะเป็นเครื่องเทศ เช่นอบเชยอินโดนีเซีย พริกไทย สะระแหน่ กลุ่ม
พืชสมุนไพร ขมิ้นชัน ยอ
ชาวอินโดนีเซียส่วนมากสืบเชื้อสายมาจากชนเผ่าที่พูดตระกูลภาษาออสโตรนีเป็นไปได้ว่ามีต้นกำเนิดในไต้หวัน นอกจากนี้
ยังมีกลุ่มชนเผ่าที่สำคัญอีกกลุ่มหนึ่ง คือ เผ่าเมลาเนเซียน กลุ่มชนเผ่าที่มีจำนวนมากที่สุด ซึ่งมีอยู่ราว 42% ของจำนวนประชากรนอกจากนี้ยังมีกลุ่มชนชาติหลักๆ ที่มีจำนวนพอ ๆ กับชาวชวา เช่น ชาวซุนดา ชาวมลายูและชาวมาดูรา
พฤติกรรมเสี่ยงประเทศอินโดนีเซีย
การสูบบุหรี่ ชาวอินโดนีเซียสูบบุหรี่มากถึง 63 ล้านคน โดยเฉพาะเด็กๆและเยาวชนอายุระหว่าง 13-16 ปี จะมีอัตราการสูบบุหรี่ถึงร้อยละ 25 หรือประมาณกาลว่าเด็กอินโดนีเซีย 4 คนจะสูบบุหรี่ 1 คนซึ่งถือเป็นตัวเลขที่น่าเป็นห่วง เครื่องดื่มแอลกอฮอร์และยาเสพติด เด็กอินโดนีเซีย ใช้วิธีการต้มน้ าดื่มจากผ้าอนามัย เป็นวิธีการใหม่ของกลุ่มวัยรุ่นที่ต้องการจะมึนเมา แต่ไม่มีเงินซื้อเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หรือสารเสพติด โดยพวกวัยรุ่นไปสืบค้นตามอินเทอร์เน็ตแล้วน าวิธีการมาดัดแปลง จนพบว่าวิธีนี้เป็นวิธีที่ประหยัด และได้ผล
โภชนาการประเทศอินโดนีเซีย
การอดอาหารจะท าปีละครั้งช่วงเดือนรอมฎอน ยกเว้นผู้ป่วยและหญิงตั้งครรภ์
มุสลิมจะล้ามือก่อนและหลังรับประทานอาหารควรมีการเตรียมสถานที่ในการล้างมือแก่ผู้ป่วย
แนวคิดส าคัญ: อาหาร -อาหารเป็นอาหาร ฮาลา ไม่มีหมู แอลกอฮอล
มุสลิมจะใช้มือขวาในการจับอาหารและเครื่องดื่มในการประทาน หากผู้ดูแลสัมผัสอาหารควรใช้มือขวาแต่ถ้าป้อนอาหารโดยใช้อุปกรณ์ ช้อน ส้อม อื่น ๆ อาจใช้มือไหนก็ได
การตั้งครรภ์และการคลอดบุตรประเทศอินโดนีเซีย
เชื่อว่าการที่ผู้หญิงมุสลิมมารับบริการทางสุขภาพจากเจ้าหน้าที่ที่เป็นผู้ชาย ถือว่าบาป
ในระยะที่มีการเริ่มตั้งครรภ์จนกระทั่งคลอดจะให้ความสำคัญอย่างยิ่งกับ โต๊ะบีแด (หมอตำแย) ในการดูแลแม่และเด็ก
ในการฝากครรภ์สตรีมุสลิมส่วนใหญ่ต้องการให้ผู้ตรวจครรภ์เป็นเจ้าหน้าที่ ที่เป็นเพศเดียวกันโดยมีความเชื่อว่าสตรีมุสลิมจะพูด หรือทำอะไรกับผู้ชายอื่นไม่ได้ นอกจากสามี พ่อ หรือ พี่ชาย น้องชาย
เท่านั้น
พิธีกรรมเกี่ยวกับความตายและจิตวิญญาณประเทศอินโดนีเซีย
การกล่าวบทสวดหรือการปฏิญาณตนตามบทศาสนาอิสลาม โดยบุตรหรือบุคคลในครอบครัวกระซิบบอกเบา ๆ ที่ข้างหูขวาของผู้ป่วย ผู้ป่วยจะเกิดความสงบ
การปฏิบัติต่อผู้เสียชีวิตมุสลิมเสมือนยังมีชีวิต เนื่องจากความตายในทรรศนะของอิสลามไม่ใช่การสิ้นสุดชีวิต ดังนั้น จึงต้องปฏิบัติอย่างนุ่มนวล กระท าใด ๆ อย่างมิดชิดมิให้อวัยวะที่พึงสงวนเปิดเผยให้ผู้อื่นเห็น
การจัดท่าให้ผู้ป่วยนอนตะแคงทับสีข้างด้านขวา (หากท าไม่ได้ให้จัดท่านอนหงาย) หันใบหน้าไปทางทิศกิบลัตคือทิศที่ตั้ง
ของบัยติลละอในนครเมกกะฮ์ส าหรับประเทศไทยคือทิศตะวันตก
การจัดการนพศพกลับไปประกอบพิธีทางศาสนา ต้องกระทำโดยเร็วก่อนที่ศพจะเปลี่ยนสภาพ เนื่องจากความเชื่อว่าการเก็บศพไว้นานจนเปลี่ยนสภาพเหม็นเน่าจะเป็นบาปแก่ผู้ที่เสียชีวิต พยาบาลต้องอำนวยความสะดวกและยืดหยุ่นเวลาในการเก็บศพไว้ในโรงพยาบาล เพื่อให้ญาตินำศพกลับไปประกอบพิธีตามศาสนาให้เร็วที่สุด
การระลึกถึงพระเจ้าในทางที่ดี ถ้าผู้ป่วยยังมีสติบอกให้ผู้ป่วยระลึกไว้ว่าพระเจ้าเป็นผู้ซึ่งมีเมตตาและหวังว่าท่านจะให้อภัยในบาปต่าง ๆ ที่ผู้ป่วยได้ทำไป
การปฏิบัติตัวด้านการดูแลสุขภาพประเทศอินโดนีเซีย
ขั้นตอนแรก เป็นการตรวจวินิจฉัยโรค คือการคำนวณด้วยวิธีการทางโหราศาสตร์ การรับรู้โดยฌานสมาธิและการวิเคราะห์อาการโรค
ส่วนขั้นตอนสอง คือการเลือกหาวิธีการรักษา เป็นเรื่องของการประยุกต์ใช้วิธีการบำบัดรักษาทั้งนี้นอกจากยาสมุนไพรและการนวดเฟ้นแล้ว อาจกำกับการรักษาด้วยคาถาบางอย่างซึ่งเชื่อว่าท ำให้
ยาสมุนไพรมีพลังรักษาเพิ่มยิ่งขึ้น
การแพทย์พื้นบ้านวิธีการบ าบัดรักษาและยาสมุนไพรของท้องถิ่น ในการดูแลรักษาความเจ็บไข้ได้ป่วย สมุนไพรหลายชนิดที่นำมาใช้ในการบ าบัดรักษาโรคโดยต้มสมุนไพรเพื่อใช้ดื่มหรือตำสมุนไพร
พอกบริเวณที่จะรักษาหรือใช้น้ำมันนวดเพื่อรักษาอาการเจ็บช้ำภายในในการบำบัดรักษาโรค การรักษาโรคมีอยู่ 2 ขั้นตอน
บุคลากรด้านสุขภาพประเทศอินโดนีเซีย
หมอพื้นบ้านและการดูแลรักษาความเจ็บไข้ได้ป่วยของสังคมจารีตในอินโดนีเซีย คือการเยียวยารักษาโรคที่รวมถึงการใช้เวทมนตร์คาถาโดยเกียรตซ์บอกว่าผู้ที่มีบทบาทสำคัญในการดูแลความเจ็บไข้ได้ป่วยในสังคมชวาคือ“ ดูกุน” (dukun)
ดูกุน มีหลากหลายรูปแบบ เช่น หมอต าแย หมอบีบ / นวด คนทรง “ dukun tiarak”คือคนทำหน้าที่ขลิบปลายอวัยวะเพศในพิธีสุหนัตของชาวมุสลิม หมอเวทมนตร์ หมอยาสมุนไพร เป็นต้น