Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลสุขภาพของคนในจังหวัดอุดรธานี - Coggle Diagram
การดูแลสุขภาพของคนในจังหวัดอุดรธานี
ภาษาและการสื่อสาร
การสื่อสารของคนในจังหวัดอุดรธานีการพูดจากันดีๆพูดที่ไพเราะในครอบครัวเป็นวัฒนธรรมที่นําความสบายใจมาให้กับวัยในครอบครัว หากลูกหลานรักใคร่ดูแลพูดจากันอย่างดีมีความสามัคคีดังที่มักพบเสมอว่าสิ่งที่ทําให้ผู้ป่วยเป็นทุกข์ใจมากที่สุดคือการพูดจาที่ไม่ไพเราะของลูกหลานการทําร้ายจิตใจกัน
.การดูแลสุขภาพของคนในจังหวัดอุดรธานี
การเข้าสู่สังคมของการดูแลสุขภาพของประเทศไทย ทําให้ทุกคนทุกฝ่ายต้องกลับมาทบทวนและดูแลสุขภาพร่างกายแข็งแรงเพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่สังคมสูงวัยคุณภา
บทบาทและสถาบันครอบครัว
การดูแลสุขภาพเมื่อเจ็บป่วย
ความเอาใจใส่ดูแลใกล้ชิด“ผู้อยู่ ดูแล ผู้เป็นพี่เป็นน้องอยู่ไกล ให้กําลังใจ” “ผู้ป่วยต้องดูแลตามอาการและให้กําลังใจอยู่ข้าง”
การดูแลด้านจิตใจและจิตวิญญาณเมื่อผู้ป่วยในบ้านเป็นโรคภัย และเจ็บป่วยมานาน กรณีการเจ็บปวดมานาน จะมีการใช้ยาสมุนไพรการเอาน้ํามนต์มารดตั
การดูแลสุขภาพของในจังหวัดอุดรธานี
-การดูแลตามความประสงค์ของผู้ป่วยหมายถึง ผู้ป่วยประสงค์ต้องการรับประทานอาหารชนิดใดสามารถเลือกรับประทานได้โดยไม่มีข้อห้ามใดๆ
อาหารและโภชนาการ
ต้มไก่ยอดหม่อน
แจ่วบอง
ซุปบักมี่
อ่อมหอย
คติเรื่องผี
ภาคอีสานเป็นพื้นที่ที่ความเชื่อแบบท้องถิ่นหรือความเชื่อเรื่องผียืดครองมาก่อน แม้ว่าในตอนหลังจะ มีคติแบบพราหมณ์และพระพุทธศาสนาเข้ามาเผยแผ่แต่ความเชื่อเร่ืองผีก็มิได้สูญหายหรือลดความสําคัญลงแต่ มีการผสมผสานที่เป็นลักษณะพิเศษระหว่างความเชื่อที่หลากหลายทั้งพราหมณ์
คติความเชื่อ
ความเชื่อเรื่องเทพเจ้าความเชื่อในเรื่องเทพ จะทําให้เชื่อหมอดู นางทรง กฤษณะ การขะลํา เป็นต้น1. หมอดู หมอดูคือ ผู้ที่มีความสามารถในการทํานายทายชีวิต อนาคต
การถือผี
ความเชื่อในเรื่องผียังเป็นความเชื่อของคนแต่ละท้องถิ่น เกิดปัญหาในการดํารงชีวิตประจําวัน เช่น เมื่อชีวิตถึงคราววิบัติ เกิดโรคภัยไข้เจ็บ เกิดภัยธรรมชาติ
หมอผี
ผู้ที่มีความนับถืออํานาจลึกลับและญาณวิเศษ ที่สามารถติดต่อขอความช่วยเหลือจากอํานาจลึกลับได้ นอกจากนี้ หมอผียังเป็นตัวแทนในการบวงสรวง สังเวยติดต่อและสื่อสารกับผีได้ทําให้เกิดพิธีกรรมต่างๆมากมายเช่นการฟ้อนผีมด
การฟ้อนมด
อการฟ้อนรําเพื่อเป็นการสังเวยผีบรรพบุรุษ ประเพณีการฟ้อนผีมดนี้ ตามที่ได้ยินจากคําบอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่ได้ความว่า มี ๒ อย่างด้วยกันคือ การฟ้อนผีมด และการฟ้อนผีเม็ง
บทบาทของหมอตําแยพื้นบ้านอีสานกับการเกิด
หมอตําแยมีบทบาทในการดูแลสุขภาพของมารดา
การส่งเสริมสุขภาพด้วยวัฒนธรรมอีสาน
วัฒนธรรมอีสานเป็นต้นทุนทางสังคมสําคัญในการส่งเสริมสุขภาพ ดังประสบการณ์จากการลงพื้นที่ศึกษาต่อเนื่องพบว่าผู้สูงอายุในวัฒนธรรมอีสานที่ศึกษาซึ่งเป็นชุมชนกึ่งเมืองยังอบอุ่นอยู่กับครอบครัวเป็นส่วนใหญ่จากข้อมูลและประสบการณ์การปฏิบัติงานในพื้นที่ชนบทและพื้นที่กึ่งเมืองกึ่งชนบท
วัฒนธรรมการสู่ขวัญกับการดูแลสุขภาพ
การสู่ขวัญเป็นการสร้างสุขภาวะทั้งในระดับบุคคล ชุมชน ในสภาวะต่างๆที่มีการเปลี่ยนแปลง สภาวะหรือสถานะเช่นการแต่งงาน การบวช การเจ็บป่วย การเก็บเกี่ยว การเพาะปลูกเป็นต้น เพื่อช่วยให้บุคคลมสุขภาวะ เป็นวัฒนธรรมที่มีกิจกรรมตอบสนองต่อการดูแลทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว และชุมชน และดูแลในทุกมิติของสุขภาวะ เช่น มิติด้านสังคม
พิธีกรรมเกี่ยวกับความตาย(Death rituals)
ความเชื่อเรื่องงานศพของชาวพุทธจังหวัดอุดรธานี
ประกาศความดี
บุญพิธีบําเพ็ญ
ขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่น
ขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่น เหมือนกับชาววอีสานในท้องถิ่นอื่น ๆ เป็นต้นว่าในรอบปีจะมีการทําบุญตามประเพณีสิบสองเดือน ที่เรียกว่า ฮีตสิบสอง อยู่ครบทุกเดือน แต่จะมีการปรับหรือตัดขั้นตอนในการประกอบพิธีกรรมบางส่วน ออกตามสภาพสังคมและเศรษฐกิจที่เป็นอยู่ปัจจุบัน