Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ศึกษาและวิเคราะห์ปรัชญาลัทธิปฏิบัตินิยม, นางสาวพิมผกา เวชประโคน …
ศึกษาและวิเคราะห์ปรัชญาลัทธิปฏิบัตินิยม
วิเคราะห์พระราชบัญญัติที่สอดคล้องกับปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม
จุดมุ่งหมาย พรบ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
มาตรา 6 การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์
จิตใจ
สติปัญญา
ความรู้
ร่างกาย
คุณธรรม
มาตรา 7 การจัดการศึกษา
เคารพกฎหมาย
รู้จักรักษาและส่งเสริมสิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ
ปลูกฝังจิตสำนัก
การเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
วิเคราะห์ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ 4 ฉบับ
พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ(ฉบับที่ 3) พ.ศ.2553
พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545
พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ(ฉบับที่ 4) พ.ศ.2562
พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
องค์ประกอบของการศึกษา
มาตรา 23 การจัดการศึกษา
การศึกษานอกระบบ
การศึกษาตามอัธยาศัย
การศึกษาในระบบ
มาตรา 24 การจัดกระบวนการเรียนรู้
เนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัด
ผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุล
จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง
ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา
จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานที่
ประสานความร่วมมือกับบิดามารดา ผู้ปกครอง
บุคคลในชุมชนทุกฝ่าย
ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียน
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้
ตัวอย่างการนำปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยมมาใช้ในการจัดการศึกษา
โรงเรียนสวนกุหลาบ
ผู้เรียน
มีอิสระในการเลือก
หลักสูตร
เน้นพัฒนา
ความเป็นเลิศทางวิชาการ
ดี มีคุณธรรม จริยธรรม
ผู้สอน
เป็นผู้แนะแนวทาง
การเรียนการสอน
ในห้องเรียน
นอกห้องเรียน
เน้นปฏิบัติ
เน้นศึกษาค้นคว้าเอง
โรงเรียน
แหล่งรู้ภายนอก
มีแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย
มีห้องสมุดแบบครบวงจร
การวัดและการประเมินผล
8 กลุ่มสาระ
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
อ่าน คิด วิเคราะห์ เขียน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
โรงเรียนเตรียมอุดม
แนวคิดลัทธิปฏิบัตินิยมที่ใช้ในการจัดการศึกษา
โรงเรียน
มีสภาพแวดล้อมที่ดี
นอกห้องเรียน
ในห้องเรียน
การเรียนการสอน
อภิปรายถกเถียง
แก้ปัญหา
ผ่านการทำกิจกรรม
ผู้สอน
เสมือนผู้นำการเรียนรู้
มีส่วนร่วมในทุกกิจกรรม
หลักสูตร
เน้นบูรณาการ
ความรู้
ประสบการณ์
สังคม
ชีวิต
ผู้เรียน
เด็กจะดีหรือไม่ ขึ้นอยู่กับครู
จุดมุ่งหมาย
ส่งเสริมการเรียนรู้จากประสบการณ์
ฝึกให้ผู้เรียนมีความพร้อมที่จะแก้ปัญหา
ปรัชญาลัทธิปฏิบัตินิยม
นักปรัชญาลัทธิปฏิบัตินิยมคนสำคัญ
เจมส์ (William James)
ผู้ที่ทำให้แพร่หลายและเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในวงการปรัชญาและสาธารณชน
ยืนยันว่าแนวคิดของเพิร์ซถูกต้อง นำไปใช้ได้
ดิวอี้ (John Dewey)
ทดลองความคิดที่ดีที่สุดเพื่อนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
เพิร์ซ (Charles S. Pierce)
ผู้ให้กำเนิดปรัชญาปฏิบัตินิยม
ได้รับอิทธิพลจากวิชาฟิสิกส์และคณิตศาสตร์
ปฏิเสธทฤษฎีความสงสัยของ เดการ์ต
ฉันสงสัย ฉันจึงมีอยู่
ความสงสัยที่แท้จริงจะเกิดขึ้นเมื่อมีประสบการณ์บางอย่างเกิดขัดแย้งกับความเชื่อเดิม
ความเป็นมา
ถือกำเนิดในอเมริกา ปลายศตวรรษที่ 19
พัฒนามาจากสัจนิยมเชิงธรรมชาติ
ทัศนะทางปรัชญา
ความรู้ที่เป็นประสบการณ์
ความจริงที่เป็นประสบการณ์
ให้ความสำคัญแก่ความรู้เชิงอุปนัย
ความรู้ที่เกิดจากการสะสมข้อเท็จจริง
ประสบการณ์ทางประสาทสัมผัสต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
นิสัยและความเคยชิน
องค์ประกอบของปรัชญา
ญาณวิทยา
การลงมือปฏิบัติ
คุณวิทยา
จริยศาสตร์
มนุษย์สร้างและกำหนดขึ้นมา
สุนทรียศาสตร์
รสนิยมที่คนส่วนใหญ่ยอมรับ
ความต้องการส่วนใหญ่ที่คนยอมรับ
อภิปรัชญา
ความจริงได้จากการปฏิบัติ
ความหมาย
ชื่อทางภาษาอังกฤษ
Pragmatism
ให้ความสำคัญกับประสบการณ์และการปฏิบัติ
ช่วยให้มนุษย์บรรลุจุดมุ่งหมายของชีวิต
ช่วยพัฒนาชีวิตให้ดีขึ้น
เป็นประโยชน์ต่อชีวิต
เปลี่ยนแปลงได้ไม่ตายตัว
ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม
นักปรัชญา
ชาร์ล ดาวิน
ผู้ที่เหมาะสมเท่านั้นอยู่รอด
เพสตาโลสซี (Johann Heinrich Pestalozzi)
พัฒนาร่างกาย สติปัญญา จิตใจ
หลักสูตรบูรณาการ
รุสโซ (Jean Jacques Rouseeau)
เด็กเปรียบเสมือนผ้าขาว
มนุษย์มีเสรีภาพทางธรรมชาติไม่จำกัด
จอนห์น ดิวอี้ (John Dewey)
ฟรานซิส ดับเบิลยู ปาร์คเกอร์
แนวคิด
ต่อต้านการท่องจำ
เน้นพัฒนาการเรียนรู้เพื่อความรู้
มีการพัฒนาไปตามช่วงเวลา
การจัดการเรียนการสอน
นักเรียน
เน้นการลงมือปฏิบัติ
ครู
ให้คำปรึกษาเป็นหลัก
การเรียนการสอน
เน้นจัดประสบการณ์
หลักสูตร
ยึดเด็กเป็นศูนย์กลาง
Learning by doing
โรงเรียน
เป็นแบบจำลองสังคมที่ดีงาม
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา
เน้นการพัฒนา
อารมณ์
สังคม
ปรับตัว
ประสบการณ์ในการดำรงชีวิต
ส่งเสริมประชาธิปไตย
ร่างกาย
สติปัญญา
ค้นคว้าหาความรู้
เรียนตามความถนัดและสนใจ
นางสาวพิมผกา เวชประโคน
สาขานวัตกรรมการบริหารการศึกษา