Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 พยาธิสรีรภาพของไตและ ระบบทางเดินปัสสาวะ - Coggle Diagram
บทที่ 8 พยาธิสรีรภาพของไตและ
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ปัสสาวะมาก ( Polyuria )
ปัสสาวะมากเกิดจาก
มีภาวะโรคเบาจืดเป็นโรคเกี่ยวกับการเสียสมดุลของนํ้าในร่างกาย ซึ่งมีอัตราการเกิดน้อยมากนานๆ ครั้งจึงจะพบผู้ป่ วยที่เป็นโรคเบาจืดสักทีหนึ่ง ส่วนมากเป็นเพราะความผิดปกติของฮอร์โมนแอนติไดยูเรติก
มีภาวะ Psychogenic polydipsia : เป็นความผิดปกติในด้านพฤติกรรม คือ ติดนิสัยการทานนํ้าปริมาณมาก เป็นพฤติกรรมที่บางครั้งเชื่อมโยงกับระบบประสาท
มีโรคเบาหวาน ผู้ป่วยเบาหวานจะรู้สึกกระหายนํ้าบ่อยกว่าปกติ และทานอาหารมาก แต่นํ้าหนักตัวกลับลดลง แน่นอนว่าต้องปัสสาวะมาก
โรคเกียวกับไตี่ทําให้ไตไม่สามารถเก็บนํ้าเอาไว้ได้ เมื่อเก็บไม่ได้ก็ต้องปล่อยออกเท่านั้นเอง ตัวอย่างของโรคก็คือ hypercalcemia ( ภาวะแคลเซียมสูงในเลือด )
chronic pyelonephritis ( ภาวะกรวยไตอักเสบ ) chronic hypokalemia ( ภาวะผิดปกตของค่าโพแทสเซียมในร่างกาย ) เป็นต้น
ประเภทของอาการปัสสาวะมาก
กลุ่ม Solute diuresis : เป็นภาวะปัสสาวะมากที่มีต้นตอมาจาก เกิดปริมาณสารบางอย่างที่ดึงนํ้าออกจากร่างกาย แล้วกลายเป็นปัสสาวะ โดยที่จะเป็นสาร electrolyte หรือ nonelectrolyte ก็ได้
กลุ่ม Water diuresis : เป็นภาวะที่ปัสสาวะถูกขับออกมาเร็วกว่าปกติ ลักษณะจะเป็นของเหลวที่เจือจางมาก หากพูดให้เข้าใจง่ายก็คือ นํ้าผ่านกระบวนการดูดซึมน้อยเกินไปนั่นเอง ซึ่งจะต้องวินิจฉัยด้วยค่า
urine osmolality < 250 mosm/kg
การตรวจวินิจฉัยอาการปัสสาวะมาก
• บันทึกความถี่ในการปัสสาวะ และสิ่งที่ทําให้คิดว่าปริมาณปัสสาวะเพิ่มมากขึ้น
• สังเกตสีและลักษณะอื่นๆ ของปัสสาวะ
-การซักประวัติผู้ป่วย -ตรวจปัสสาวะ -ตรวจเลือด -กระบวนการ Water deprivation test
แนวทางการรักษาภาวะปัสสาวะมาก
กรณีผู้ป่วยมีภาวะ Center DI
1.Low solute diet 2.Desmopressin 3.ใช้ยาอื่นๆ ที่สามารถลดปริมาณปัสสาวะได้ ตัวอย่างเช่น carbamazepine, NSAIDs, thiazid diuretic เป็นต้น
กรณีผู้ป่วยที่มีภาวะ Nephrogenic DLow sodium, 1.Low protein diet 2.ใช้ยาในกลุ่ม amiloride ซึ่งเป็นยาขับปัสสาวะชนิดหนึ่งโดดเด่นในเรื่องของการลดปริมาณนํ้าและเกลือแร่ในปัสสาวะ 3.Desmopressin
กรณีที่ผู้ป่ วยเป็น Primary polydipsia ก็สามารถรักษาเบื้องต้นได้ง่ายๆ ด้วยการจํากัดนํ้า และอาจใช้การรักษาในทางจิตเวชร่วมด้วย หากผู้ป่วยมีสัญญาณเกี่ยวกับภาวะทางจิต
ปัสสาวะออกน้อย ( Oliguria and Anuria )
AKI
Pre-renal AKI : เป็ นภาวะที่ effective arterial blood volume ลดลงอยางรวดเร็ว มักเกิดกับผู้ป่วยที่มีการเสียเลือด หรือเสียนํ้าอยางมาก เมื่อร่างกายขาดสมดุลของน้ำและเลือดไปสิ่งที่จะส่งต่อเพื่อไปหล่อเลี้ยงการทำงานของไตลดลง
Intrinsic AKI : นี่คือการเกิดพยาธิสภาพบริเวณ renal parenchymal
Post-renal AKI : มักเป็นอาการอุดตันบริเวณ bladder outlet และการอุดตันที่ทางเดินปัสสาวะข้างเดียวหรือสองข้างสามารถตรวจวินิจฉัยได้ง่ายโดยการใช้อัลตร้าซาวด์
Sepsis-associated AKI : นี่คือการติดเชื้อในกระแสเลือดึ่งมีผลทําให้เกิดความเสี่ยงต่อ AKI มากถึง 50เปอร์เซ็นต์ เมื่อมีการติดเชื้อในระบบเลือดก็จะเกิด arterial vasodilation และ renal vasoconstr iction
Postoperative AKI : ส่วนใหญแล้ว Postoperative AKIเป็นภาวะที่เกิดมาจากการผ่าตัด
Burn and acute pancreatitis ::กรณีนี้จะเป็นนํ้าปริมาณมากอย่างฉับพลัน
Nephrotoxic drug associated AKI :เนื่องจากไตเป็นหน่วยกรองทุกสิ่งทุกอยางในร่างกายเมื่อไรที่ทํางานหนักมากก็ย่อมเสื่อมสภาพลง
Endogenous toxin :อาจเรียกได้วาเป็นอาการติดพิษจากสารที่ร่างกายสร้างขึ้นมาเอง เช่นmyoglobin , hemoglobin , uric acidและ myeloma light chain ทุกตัวสามารถกระตุ้นให้เกิดภาวะ AKI ได้ทั้งสิ้น
Tumor lysis syndromee : ส่วนใหญ่เป็นอาการที่เกิดขึ้นหลังจากการบําบัดด้วยเคมี
ผลกระทบ
1.มีอาการบวมของร่างกาย 2.ระดับฮอร์โมนอดรีนัลเพิ่ม
ขึ้นสูงกวาปกติ 3.มีการหลั่งสารเรนินจากเซลล์ผนังหลอดเลือดในส่วนของไตมากขึ้น 4.เกิดนิ่วในกระเพาะปัสสาวะตามมา
การตรวจร่างกายและวินิจฉัยโรคปัสสาวะน้อย
ประวัติการสูญเสียนํ้าออกจากร่างกายในช่วงระยะที่ผิดปกติ 2.ประวัติการใช้ยา 3.ความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยและติดเชื้อ 4.ประวัติเกี่ยวกับไตโดยเฉพาะ 5.ลักษณะของปัสสาวะ 7. อาการข้างเคียงอื่นๆ
การรักษา • ทานน้ำให้มากขึ้น• ป้องกันและลดอัตราการสูญเสียน้ำของร่างกายในทุกกรณี
การป้องกัน -การทานน้ำให้มากเพียงพอกับความต้องการของร่างกายและเข้าห้องน้ำทุกครั้งที่รู้สึกปวดปัสสาวะ
โรคกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
สาเหตุและผลของโรคกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
กล้ามเนื้ออุ้งเชิงกรานหย่อนลง บางทีเรียกกันว่า
กระบังลม (เชิงกราน) หย่อน
1.มีปัญหาการนอนไม่หลับ 30.2%
2.จำกัดการดื่มน้ำ 25.9%
3.ไม่กล้าออกจากบ้าน 18.7%
การตรวจวินิจฉัยทางการแพทย์
• ตรวจปัสสาวะเพื่อตัดปัญหาการอักเสบ
• ตรวจสอบความแรงของสายปัสสาวะ (Uroflowmetry, Residual Urine)
• ตรวจระบบประสาททางเดินปัสสาวะ ถ้าจําเป็น (Urodynamic)
• ตรวจส่องกล้องกระเพาะปัสสาวะ ถ้าจําเป็น
การรักษาโรคกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
• การบริหารฝึกฝนกล้ามเนื้ออุ้งกราน
Kegel Exercise
• การบริหารทานยา
• การผ่าตัดรักษาผ่านบริเวณช่องคลอด
ปัสสาวะคั่งค้าง(Urinary Retention)
อาการ
• ปัสสาวะไม่ออกเฉียบพลัน (Acute Urinary Retention) • ปวดปัสสาวะแต่เบ่งหรือปัสสาวะไม่ออก
• ปวดแน่นท้อง รู้สึกไม่สบายบริเวณท้องช่องล่าง
• ท้องอืดบริเวณท้องช่วงล่าง
• ปัสสาวะไม่ออกเรื้อรัง (Chronic Urinary Retension)
• ต้องออกแรงเบ่งให้ถ่ายปัสสาวะออก
• รู้สึกแน่นท้องหรือปวดบริเวณท้องช่วงล่าง
สาเหตุที่พบได้บ่อย
-ท่อปัสสาวะอุดตัน -ต่อมลูกหมากโตต (Benign Prostatic Hyperplasia:BPH) - อวัยวะภายในอุ้งเชิงกรานหย่อน (Genitourinary Prolapse)พบได้ในผู้หญิง -นิ่วในกระเพาะปัสสาวะอาหาร
-ระบบประสาทเกิดจากระบบประสาที่ควบคุมการทํางานของกระเพาะปัสสาวะและหูรูดปัสสาวะเกิดความผิดปกติ
• การใช้ยาการรับประทานหรือใช้ยาบางชนิดอาจรบกวนการทํางานของเส้นประสาทที่เป็นตัวส่งสัญญาณไปยังกระเพาะปัสสาวะและต่อมลูกหมาก
การวินิจฉัย
• การวัดปริมาณปัสสาวะที่ตกค้าง (Post-Voiding Residual Volume)
• การส่องกล้องทางเดินปัสสาวะ (Cystoscopy)
• เอกซเรย์คอมพิวเตอร์หรือซีทีสแกน (CT-scan)
• การตรวจเอ็มอาร์ไอ (Magnetic Resonance Imaging: MRI)
• การตรวจพลศาสตร์ระบบทางเดินปัสสาวะ (Urodynamic Study)
• การตรวจคลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้อหรืออีเอ็มจี (Electromyography)
การรักษา
• การระบายนํ้าปัสสาวะ (Bladder Drainage) • การใช้ยา
• การผ่าตัด
ภาวะแทรกซ้อน
• การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
• กระเพาะปัสสาวะเสียหายหรือทํางานผิดปกติ
• ไตทํางานผิดปกติ • ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่ได้
การป้องกัน
อาการฉี่ไม่ออกเกิดได้จากหลายสาเหตุจึงยังไม่สามารถ ป้องกนได้เต็มที่แต่อาจลดความเสี่ยงได้ด้วยการรักษาโรคต้นเหตุให้หายขาด
ภาวะโปรตีนในปัสสาวะ
วิธีการตรวจโปรตีนในปัสสาวะ
โดยการใช้แทบตรวจปัสสาวะจุ่มในปัสสาวะแล้วเทียบสี
วัดปริมาณ Proteinที่ขับออกมาตลอด 24 ชั่วโมง
การตรวจปัสสาวะหาค่า Protein Creatinine
ปัจจัยที่มีผลต่อโปรตีนในปัสสาวะ
• การออกกำลังกาย • ภาวะหัวใจวาย • การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ • มีไข้ • การใช้ยา NSAID,aceI,ARB • คนอ้วน
โปรตีนในปัสสาวะแบ่ง
• โปรตีนในปัสสาวะที่หายเองได้ Transient proteinuria
• โปรตีนในปัสสาวะเมื่ออยูในท่ายืน Orthostatic (postural) proteinuria
• เมื่อตรวจปัสสาวะ 2-3 ครั้งยังพบโปรตีนทุกครั้งที่ตรวจเราเรียกว่าPersistent proteinuria
เมื่อตรวจพบโปรตีนใน
ปัสสาวะแพทย์จะตรวจอะไรต่อ
•เจาะเลือดตรวจเช่น การทํางานของไต •ตรวจเลือดหาระดับน้ำตาลในเลือด •ตรวจเลือดหาระดับไขมันในเลือด
•ตรวจเลือดเพื่อหาว่ามีโรค SLE •ตรวจ Ultrasound ของไต •บางรายอาจจะต้องเจาะชิ้นเนื้อไตเพื่อตรวจเนื้อไตทางกล้องจุลทัศน