Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมญี่ปุ่น - Coggle Diagram
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมญี่ปุ่น
วัฒนธรรม ระบบสุขภาพและการเชื่อมโยง
การดูแลสุขภาพของคนญี่ปุ่น มีพื้นฐานจากศาสนาดังเดิมคือ ชินโตบุคคลต้องใช็ชีวิตอย่างสมดุล ดูแลสุขภาพตัวเองให้ดี ทำให้สมดุลซึ่งทางชินโตเห็นว่าการเจ็บป่วยเป็นสิ่งน่ารังเกียจคนเจ็บป่วยควรได้รับการแยกออกจากสังคมพระทางชินโตเป็นผู้มีวิญญาณอันบริสุทธิ์จะไม่แตะต้องผู้ป่วยเพราะเกรงว่าจะทำให้เสียพลังศักดิ์สิทธิ์นี้ไปทำให้ติดต่อกับพระเจ้าไม่ได้ดังนั้นพิธีการส่วนใหญ่ของกางชินโตจะเกี่ยวข้อง แต่กับสิ่งมงคลความสุขสุขภาพที่แข็งแรงเป็นหลักเช่นงานปีใหม่แต่งงานการได้บุตรเป็นต้น
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
การพยาบาลที่เน้นการให้คุณค่าและการปฏิบัติโดยเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างทางวัฒนธรรมของบุคคลหรือกลุ่มรวมทั้งวิเคราะห์พฤติกรรมการดูแลและการให้บริการทางการพยาบาลค่านิยมเกี่ยวกับความเจ็บป่วยและแบบแผนของพฤติกรรมต่างๆของคนในเชื้อชาติหรือวัฒนธรรมที่แตกต่างกันเพื่อให้การตอบสนองที่สอดคล้องกับความต้องการการดูแลเฉพาะของเชื้อชาติหรือวัฒนธรรมนั้น
กรอบความคิดทฤษฎี
นอกเหนือจากมุมมองในด้านประชากรศาสตร์ที่มุ่งอธิบายในเชิงโครงสร้างการขยายตัวการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนประชากรตลอดจนอัตราการพึ่งพิง ฯลฯ ที่สาคัญและจำเป็นสาหรับการวางแผนในการจัดการแล้วในยุคร่วมสมัยมีแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับการจัดการสังคมผู้สูงอายุสำคัญ ๆ ใน 3 แนวทางคือ
แนวคิดในเชิงการจัดสวัสดิการแก่ผู้สูงอายุ (The Social Welfare for Elderly)
ตัวแบบเอ (Model A) เป็นนโยบายสังคมในเชิงการจัดสวัสดิการแบบส่วนเหลือ
ตัวแบบบี (Model B) เป็นนโยบายสังคมในการจัดสวัสดิการที่องความสำเร็จในการทำงานเชิงอุตสาหกรรม
ตัวแบบซี (Model c) เป็นนโยบายสังคมในการจัดสวัสดิการในเชิงสถาบัน
แนวคิดในการดูแลรักษาสุขภาพผู้สูงอายุ (The Geriatrics and Health Care of Elderly)
แนวทางที่อาศัยผลการศึกษาวิจัยพบว่าจะมีปัจจัยคุณลักษณะที่สำคัญเป็นต้นว่ายีนส์บางตัวที่สามารถป้องกันหรือลดการเจ็บป่วยหรือเชื้อโรคที่มีอยู่ในร่างกายตลอดจนบุคลิกภาพของบุคคลซึ่งมีอายุร้อยปีอันเป็นยีนส์ที่มาช่วยเสริมสร้างการมีอายุอย่างยืนยาวได้
คุณส่ง
แนวคิดในเชิงพฤฒาวิทยา (Gerontology)
วิชาการแขนงหนึ่งในการศึกษาถึงความชราภาพหรือมีจุดเน้นต่อผู้สูงอายุซึ่งเป็นกรอบความคิดเชิงสหสาขาวิชาตลอดจนแนวการปฏิบัติในเชิงองค์รวมที่เน้นการป้องกันหรือการเตรียมการมากกว่าการแก้ไขซึ่งเป็นมุมมองในเชิงวิชาการต่อการจัดการสังคมผู้สูงอายุที่เห็นว่าควรที่จะมองภาพรวมของการจัดการต่อผู้สูงอายุโดยอาศัยสหสาขาวิชา แต่ Gerontology สนใจศึกษาปรากฏการณ์และผลกระทบที่เกิดขึ้นจากสังคมผู้สูงอายุและมุ่งเน้นการจัดสภาวะแวดล้อมทางสังคมและบริบทของสังคมผู้สูงอายุ
การดูแลผู้ป่วยข้ามวัฒนธรรม
ปัญหาและอุปสรรคในการดูแลชาวญี่ปุ่นเช่นการสื่อสารอุปนิสัยความเชื่อวัฒนธรรมที่แตกต่างลักษณะทางสังคมเนื่องจากคนญี่ปุ่นมีชาตินิยมมากคนญี่ปุ่นจึงพูดภาษาของประเทศตนเองเป็นส่วนใหญ่ถ้าเราสื่อสารกับคนไข้ชาวญี่ปุ่นไม่ได้เราควรรู้วิธีที่จะสื่อสารกับคนไข้โดยใช้อวัจนภาษาเช่นแอพพิเคชั่นติดต่อล่ามของโรงพยาบาลติดต่อญาติผู้ป่วยที่สามารถพูดภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษเพื่อให้เราสามารถสื่อสารกับผู้ป่วยได้ซึ่งเป็นส่วนสำคัญในการดูแลผู้ป่วยข้ามวัฒนธรรมที่นอกเหนือจากการรู้จักวัฒนธรรมของประเทศญี่ปุ่น
ด้านความเชื่อ
ความเชื่อของคนญี่ปุ่นมีความเชื่อว่าหมายเลข 4 จะออกเสียงว่า“ ซี "(PM) ซึ่งออกเสียงเหมือนกับคำว่า“ ชิ" (SE) ที่หมายถึง“ ความตาย "ดังนั้นคนญี่ปุ่นจึงหลีกเลี่ยงหมายเลข 4 เช่นห้องหมายเลข 4 ดังนั้นพยาบาลจึงควรจัดห้องให้ผู้ป่วยที่ไม่มีหมายเลข 4 เพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความสบายใจ
ห้ามจัดที่นอนโดยหันศรีษะไปทางทิศเหนือเพราะชาวญี่ปุ่นหลีกเลี่ยงการนอนหันศรีษะไปทางทิศเหนือเพื่อจะได้ไม่พบเจอกับความโชคร้ายหรือความตาย
ด้านอาหาร
คนญี่ปุ่นเชื่อว่าการดื่มน้ำส้มสายชูจะช่วยขจัดความอ่อนเพลียและทำให้ร่างกายเบาสบายโดยคนญี่ปุ่นเชื่อว่าการดื่มน้ำส้มสายชูหมักนั้นจะช่วยชะล้างสารพิษช่วยให้ร่างกายมีความยืดหยุ่นมากขึ้นรวมไปถึงอายุก็จะยืนยาวความเชื่อของการดื่มน้ำส้มสายชูนี้ยังคงได้รับความนิยมมาจนถึงปัจจุบันพยาบาลควรประเมินอาการของผู้ป่วยว่าดื่มน้ำส้มสายชูได้หรือไม่ถ้าไม่ได้หรืออาจเกิดผลข้างเคียงควรแจ้งเหตุผลให้กับผู้ป่วย
ความต้องการและความไม่ต้องการของผู้ป่วยชาวญี่ปุ่นเมื่อเข้าพักรักษาตัวในโรงพยาบาล
ความต้องการ
แพทย์มาตรวจตรงเวลา
ข้อมูลแผนการรักษาที่ชัดเจน
ทราบตารางการทำกิจกรรมพยาบาล
ได้รับการตอบสนองที่รวดเร็ว
การบริการที่ดีใส่ใจ
รักความสะอาดมาก
ความไม่ต้องการ
ชาวญี่ปุ่นไม่ต้องการให้ใครมาเยี่ยมเมื่อเจ็บป่วย
ไม่ชอบการรอคอยโดยไม่ทราบเหตุผล
ไม่ชอบความเสี่ย 19 ดังโดยเฉพาะเสียงรองเท้าเดินตอนกลางคืน
ไม่ต้องการเปิดเครื่องปรับอากาศ
การดูแลด้านสิ่งแวดล้อมภายในห้องพักผู้ป่วยเน้นการให้คำแนะนำห้องพัก
ความสะอาดเป็นระเบียบ
เปิดผ้าม่านให้แดดส่องเข้าห้อง
อุณหภูมิของน้ำอาบให้อุ่น
อุณหภูมิห้องมากกว่า 25 องศา
จะตะเกียบเข้าในชุดจานชาม
เพิ่มชุดกาแฟให้มีชาญี่ปุ่น