Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 10 การพยาบาลผู้ป่วยระยะท้ายของชีวิต, นางสาวสร้อยฟ้า วงค์ชัย ชั้นปี3 …
บทที่ 10 การพยาบาลผู้ป่วยระยะท้ายของชีวิต
แนวคิดการพยาบาลผู้ป่วยระยะท้ายของชีวิต :star:
1.การแจ้งข่าวร้าย(Breaking bad news) :red_flag:
แจ้งข่าวสารหรือข้อมูลที่เลวร้ายที่มีผลกระทบอย่างรุนแรงต่อวิถีชีวิต
แนวปฏิบัติในการแจ้งข่าวร้าย (Buckman 1992) :red_flag:
2.1 เตรียมความพร้อม
2.2 ประเมินว่าผู้ป่วยทราบการเจ็บป่วยของตนมากน้อยเพียงใด
2.3 ประเมินว่าผู้ป่วยต้องการทราบข้อมูลอะไรบ้างมากน้อยเพียงใด
2.4 ให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วย
2.5 ตอบสนองต่อความรู้สึกของผู้ป่วยอยส่งเห็นอกเห็นใจ
2.6 สรุปและวางแผน
วิธีการประเมินความสามารถในการช่วยเหลือตัวเองโดยใช้ (PPS) :red_flag:
3.1 ช่วยในการประเมินความสามารถในการดูแลตนเองในชีวิตประจำวันด้านต่างๆ :black_flag:
3.2 PPS มีการแบ่งระดับทั้งหมด 11 ระดับไล่ตั้งแต่ 100% ลงไปถึง 0% :black_flag:
3.3 แบ่ง3กลุ่มย่อยๆได้แก่ :black_flag:
ผู้ป่วยที่มีอาการคงที่ (>70%)
2.ผู้ป่วยระยะสุดท้าย (0-39%)
3.ผู้ป่วยที่อยู่ระหว่างสองกลุ่มดังกล่าว (40-70%)
3.4 PSS เครื่องมือใช้ประเมินผู้ป่วยใน 5 หัวข้อหลัก :black_flag:
ความสามารถในการเคลื่อนไหว
กิจกรรมและความรุนแรงของโรค
การดูแลตนเอง
การกินอาหาร
ความรู้สึกตัว
3.5 ประโยชน์ของ PSS :black_flag:
ใช้ติดตามผลการรักษา
ประเมินภาระงานของผู้ดูแลผู้ป่วย
วิธีการใช้ PPS :red_flag:
ให้เริ่มประเมินโดยอ่านตารางในแนวขวางไล่จากซ้ายไปขวา
เริ่มอ่านจากการเคลื่อนไหวแล้วจึงอ่านคอลัมน์ถัดไป
ไม่สามารถให้คะแนนระหว่างกลาง
:star:
แนวคิดของผู้ปวยระยะท้ายชีวิต :red_flag:
เป็นการดูแลแบบประคับประคอง
เป็นการดูแลให้ผู้ป่วยมีความสุขทั้งทางร่างกายจิตใจและจิตวิญญาณ
เป็นแนวทางปฏิบัติในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและครอบครัว
วัตถุประสงค์ของการพยาบาลผู้ป่วยระยะท้ายของชีวิต :red_flag:
บรรเทาอาการทุกข์ทรมาน
ตอบสนองความต้องการในด้านต่างๆ
ดูแลให้ผู้ป่วยตายอย่างสมศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
ประคับประคองให้ครอบครัวสามารถปรับตัวรับสถานการณ์
หลักการพยาบาลผู้ป่วยระยะท้ายของชีวิต :red_flag:
เข้าใจการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในระยะสุดท้ายของชีวิต
ดูแลช่วยเหลือและตอบสนองความต้องการของผู้ป่วย
ควบคุมอาการเจ็บปวด
สร้างสิ่งแวดล้อมให้สงบ
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยและครอบครัวได้ปฎิบัติตามความเชื่อและศรัทธา
สนับสนุนให้กำลังใจ
การพยาบาลเพื่อสนองความต้องการของผู้ป่วยระยะท้ายของชีวิต :red_flag:
ด้านจิตใจและการติดต่อสื่อสารกับผู้ป่วย :black_flag:
ยอมรับและให้เกียรติผู้ป่วยในฐานะเป็นบุคคล
ทำให้ผู้ป่วยรู้สึกมั่นใจในการพูดคุยกับพยาบาล
ทำให้ผู้ป่วยรู้สึกว่าตนเองอย่างมีคุณค่า
ใช้เทคนิคการพูดคุยกับผู้ป่วยในเรื่องอื่นๆ
กระตุ้นให้ผู้ป่วยได้ระบายความรู้สึก
คำนึงถึงความหวังของผู้ป่วย
รักษาความลับ เคารพและป้องกันสิทธิของผู้ป่วย
ด้านจิตวิญญาณ :black_flag:
มีความเชื่อว่าขนาดที่ตายเป็นจุดสำคัญที่ตายต้องมีจิตใจที่ดี
พยาบาลให้การดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยทางด้านจิตวิญญาณอย่างถูกวิธีและเหมาะสม
3.ด้านรางกาย :black_flag:
พยาบาลควรดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
หลีกเลี่ยงการพยาบาลที่ไม่จำเป็น
การดูแลด้านร่างกาย :red_flag:
การประเมินความปวด :black_flag:
1.1 ตำแหน่ง
1.2 ลักษณะความปวด
1.3 ความรุนแรงของความปวด
1.4 ปัจจัยที่ทำให้เพิ่มหรือลดความปวด
1.5 ผลต่อความสามารถในการทำงาน
1.6 ผลของการรักษาต่อความปวด
2.การวางแผนการรักษา :black_flag:
2.1 การบำบัดความปวด
2.2Palliative radiotherapy
2.3 การจัดการความปวดโดยไม่ใช้ยา
การพยาบาลด้านร่างกาย :red_flag:
การดูแลอาหารและน้ำ
การดูแลความสะอาดปากฟัน
การดูแลความสะอาดจมูกและตา
การทำความสะอาดผิวหนัง
การดูแลความสุขสบายและลดอาการเจ็บปวด
การดูแลภาวะหายใจลำบาก
การดูแลความไม่สุขสบายจากอาการท้องผูก
การดูแลอาการอ่อนล้า
การสังเกตอาการผิดปกติ
บทบาทของพยาบาลในการดูแลประคับประคองจิตใจญาติ :red_flag:
การแจ้งข่าวให้ญาติทราบ
ให้เวลาญาติเพื่อพูดคุยซักถาม
อนุญาตให้ญาติได้อยู่ดูแลผู้ป่วยข้างเตียง
อนุญาตให้ญาติแสดงความรู้สึกเศร้าโศกเสียใจ
แนะนำญาติเกี่ยวกับขั้นตอนและวิธีการในการรับศพออกจากโรงพยาบาล
แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายของชีวิต :red_flag:
การดูแลด้านจิตใจ :black_flag:
1.1การดูแลด้านจิตใจผู้ป่วยในระยะสุดท้าย :checkered_flag:
1.ซักประวัติการเจ็บป่วยทั่วไป
2.การประเมินด้านจิตใจ
3.ประเมิน Five state reaction
1.2ภาวะสูญเสีย :checkered_flag:
การสูญเสียสิ่งของภายนอก
การสูญเสียตามวัยต่างๆ
การสูญเสียภาพลักษณ์และอัตรามโนทัศน์
การสูญเสียบุคคลสำคัญหรือบุคคลอันเป็นที่รัก
1.3 ปฏิกิริยาต่อการสูญเสียของบุคคล 3 ระยะ :checkered_flag:
ระยะ Shock and disbelief
2.ระยะ developing awareness
3.ระยะ restitution
1.4 ความเศร้าโศก :checkered_flag:
ระยะช็อกและปฏิเสธ
ระยะโกรธ
3.ระยะต่อรอง
4.ระยะซึมเศร้า
5.ระยะยอมรับ
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้มีภาวะสูญเสียและเศร้าโศก :star:
การประเมินปัญหา
โดยใช้แนวทางการประเมินภาวะสุขภาพของกอร์ดอน :red_flag:
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล :red_flag:
2.1 การดูแลสุขภาพไม่มีประสิทธิภาพ
2.2 เสี่ยงต่อการเกิดภาวะไม่สมดุลย์ของสารอาหารและเกลือแร่
2.3 เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
2.4 แบบแผนการนอนหลับเปลี่ยนแปลง
2.5 ประสิทธิภาพการแก้ปัญหาลดลง
2.6 การเห็นคุณค่าในตัวเองลดลง
การวางแผนและปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาล :red_flag:
3.1 ลดโอกาสที่จะเกิดความเศร้าโศกที่ผิดปกติ
3.2 ลดระยะเวลาที่บุคคลมีการเศร้าโศก
3.3 ลดการเกิดอาการเศร้าโศก
การประเมินผลลัพธ์การพยาบาล :red_flag:
4.1 เสมือนการตอบสนองต่อกิจกรรมการพยาบาลของบุคคล
4.2 ประเมินความสามารถในการกลับไปใช้ชีวิตได้ดังเดิม
4.3 ประเมินความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นใหม่
:star:
ผู้ป่วยระยะท้าย :red_flag:
-เป็นโรคที่ไม่สามารถจะรักษาให้หายได้
การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองในระยะท้ายของชีวิต :red_flag:
-การดูแลเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและครอบครัว
-การป้องกันและบรรเทาความทุกข์ทรมาน
หลักปฏิบัติที่สำคัญของการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายของชีวิต :red_flag:
มุ่งประโยชน์ต่อตัวผู้ป่วยเป็นหลัก
มึงช่วยลดอาการเจ็บปวดและทุกข์ทรมาน
ดูแลครอบคลุมถึงการตอบสนองทางด้านจิตวิญญาณ
ดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยตั้งแต่เริ่มต้นจนวาระสุดท้าย
ดูแลครอบคลุมถึงผู้ใกล้ชิดในครอบครัวของผู้ป่วย
การพยาบาลผู้ป่วยระยะท้ายของชีวิต :red_flag:
ให้การพยาบาลที่ตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐาน
ดูแลป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน
วางแผนให้การพยาบาล
ประเมินความต้องการของผู้ป่วย
จัดสภาพแวดล้อมให้เป็นสัดส่วน
สร้างสัมพันธ์ / ภาพที่ดีและความเชื่อมั่นในการรักษา
ให้คำแนะนำเป็นที่ปรึกษาของผู้ป่วยและญาติ
ผู้ป่วยเข้าสู่ระยะไม่รู้สึกตัวหรือถึงแก่กรรม :red_flag:
บันทึกสัญญาณชีพทุก 1 ชั่วโมง
ให้การพยาบาลอย่างนุ่มนวลตามแผนการรักษา
จัดสิ่งแวดล้อมให้ผู้ป่วยได้อยู่กับญาติตามลำพัง
แจ้งให้ญาติครอบครัวทราบ
เปิดโอกาสให้ญาติได้แสดงความคิดเห็นต่อการรักษา
เมื่อผู้ป่วยจากไปพยาบาลควรกล่าวแสดงความเสียใจกับญาติ
:star:
การดูแลในบริบทของวัฒนธรรมประเพณี (เมื่อผู้ป่วยใกล้เสียชีวิต) :red_flag:
การจัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ :black_flag:
ศาสนาพุทธ (แนะนำญาติกระซิบข้างหูผู้ป่วย) :black_flag:
2.1 ให้ระลึกถึงสิ่งที่ดีงาม
2.2 ให้ระลึกถึงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่กูป่วยเคารพ
ศาสนาอิสลาม
(ส่งเสริมให้ผู้ป่วยได้อยู่ใกล้ชิดกับพระเจ้าตลอดเวลา) :black_flag:
การดูแลภายหลังการตาย :red_flag:
เข้าใจและยอมรับว่าครอบครัวย่อมมีปฏิกิริยาต่อการสูญเสีย
ให้สมาชิกในครอบครัวได้ระบายอารมณ์และความรู้สึกต่างๆ
ติดต่อสื่อสารกับญาติผู้ป่วยอย่างสม่ำเสมอ
เปิดโอกาสให้ญาติได้ใกล้ชิดผู้ป่วยมากที่สุด
ช่วยวางแผนและตัดสินใจร่วมกับญาติเพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหา
ช่วยเหลือและให้กำลังใจแก่สมาชิกในครอบครัว
ความตาย :red_flag:
การสิ้นสุดของชีวิตด้วยหัวใจหยุดเต้นและหยุดหายใจ :black_flag:
ความตายของสมอง :black_flag:
2.1 เพราะว่าสมองและการที่สมองขาดเลือด :checkered_flag:
2.2 พิจารณาจากการทำงานของระบบสมองเป็นหลัก :checkered_flag:
2.3 การตายของสมองจะมีอาการแสดง 4 ประการ :checkered_flag:
ไม่สามารถรับรู้หรือตอบสนองการกระตุ้นใดๆ
ไม่มีการเคลื่อนไหวหรือการหายใจ
ไม่มีปฏิกิริยาสะท้อนกลับเป็นภาวะหมดความรู้สึกอย่างถาวร
คลื่นไฟฟ้าสมองเป็นเส้นตรง
อาการแสดงของผู้ป่วยระยะสุดท้ายใกล้ตาย :red_flag:
สัญญาณชีพเปลี่ยนแปลง
การไหลเวียนเลือดลดลง
การตึงตัวของกล้ามเนื้อเสียไป
ความรู้สึกช้าลง
บางรายอาจมีอาการสับสน
ประเด็นพินัยกรรมชีวิต :red_flag:
1.Conversation :black_flag:
เป็นบทสนทนาที่ผู้ป่วยพูดคุยกับญาติพี่น้อง เพื่อน แพทย์ที่ดูแลเกี่ยวกับแผนการรักษาที่ผู้ป่วยต้องการ
2.Written directives
:black_flag:
เป็นการระบุจุดยืนของตัวผู้ป่วยเอง โดยอาจไม่ได้กล่าวถึงแผนการรักษาจำเพาะที่ผู้ป่วยต้องการ
3.Euthanasia :black_flag:
เป็นการกระทำโดยตั้งใจที่จะทำลายชีวิตของผู้ป่วยแม้ว่าจะเป็นการทำตามคำร้องของผู้ป่วยหรือญาติถือว่าผิดหลักจริยธรรม
นางสาวสร้อยฟ้า วงค์ชัย ชั้นปี3 :<3:
รหัสนักศึกษา 116212201114-8 :<3: