Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการบริหารเชิงพฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral Theory) - Coggle Diagram
ทฤษฎีการบริหารเชิงพฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral Theory)
ทฤษฎีแรงจูงใจของมาสโลว์
(Maslow's Motivation Theory)
1.มนุษย์มีความต้องการไม่สิ้นสุด
ความต้องการที่ยังไม่ได้รับการตอบสนองจะเป็นแรงกระตุ้นให้เกิดการแสดงพฤติกรรมและทำให้เกิดแรงจูงใจ ส่วนความต้องการที่ได้รับการตอบสนองแล้วจะไม่เป็นแรงจูงใจอีกต่อไป
ความต้องการของมนุษย์มี 5 ลำดับชั้น
ขั้นที่ 1 ความต้องการทางกายภาพ (physiological needs)
ขั้นที่ 2 ความต้องการความมั่นคงและปลอดภัย (security needs)
ขั้นที่ 3 ความต้องการความรักและเป็นส่วนหนึ่งของสังคม (Social needs / love and belonging needs)
ขั้นที่ 4 ความต้องการการยอมรับนับถือ (self-esteem needs)
ความต้องการที่จะนับถือตนเองและได้รับการยกย่องในสังคม
ขั้นที่ 5 ความต้องการเติมความสมบูรณ์ให้ชีวิต (self actualization needs
1 more item...
ความต้องการเป็นส่วนหนึ่งของสังคมต้องการให้และได้รับซึ่งความรักและต้องการได้รับการยอมรับ
ความต้องการที่จะให้ชีวิตมีความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินความต้องการความมั่นคงในชีวิตและการงาน
อาหารเครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรคอากาศ น้ำดื่ม การพักผ่อน
ทฤษฎีสองปัจจัย
(Two-Factor Theory) โดย
Frederick Herzberg
:star:
ปัจจัยจูงใจ (motivation factors)
1.นโยบายและการบริหารขององค์การ (company policy and administration)
การบังคับบัญชาและการควบคุมดูแล (supervision)
ความสัมพันธ์กับหัวหน้างาน (interpersonal relations with supervision)
ความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน (interpersonal relations with peers)
ความสัมพันธ์กับผู้ใต้บังคับบัญชา (interpersonal relations with subordinators)
ตำแหน่งงาน (Status)
ความมั่นคงในการทำงาน (job security)
ชีวิตส่วนตัว (personal Life)
สภาพการทำงาน (Working Conditions)
ค่าตอบแทนและสวัสดิการ (Compensations and welfares)
:star:
ปัจจัยอนามัย (hygiene factors)
ความสำเร็จในการทำงาน (achievement)
การได้รับการยอมรับ (recognition)
ความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน (advancement)
ลักษณะงานที่ทำ (work itsel)
ความรับผิดชอบ (responsibility)
เมื่อใดปัจจัยจูงใจลดลงต่ำกว่าระดับที่ควรจะเป็นอย่างมากประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการทำงานก็จะลดต่ำไปด้วย แต่ในทางกลับกันถ้าปัจจัยอนามัยลดต่ำลงกว่าระดับที่ควรจะเป็นหรือขาดไปก็จะทำให้บุคลากรเกิดความไม่พอใจในการปฏิบัติงานรู้สึกเบื่อหน่ายท้อถอยและหมดกำลังใจในการทำงาน