Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิวัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการบริหาร, นาย วีระฉัตร สาระพล รหัสนักศึกษา …
วิวัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการบริหาร
ทฤษฎีการบริหารยุคคลาสสิก (Classical organizational theory)
หลักการบริหารตามหลักวิทยาศาสตร์(Scientific Management)
Frederick Winlow Taylor
2) Selection of Personnel คือการคัดเลือกบุคลากรที่เหมาะสมกับงานแต่ละงาน
Scientific Job Analysis คือการวิเคราะห์งานตามหลักวิทยาศาสตร์โดยผ่านการสังเกตการรวบรวมข้อมูลและการวัดอย่างรอบคอบจนเกิด "วิธีที่ดีที่สุดหรือ one best way" ในการทำงานแต่ละงานซึ่งในปัจจุบันเรียกว่า Time-and motion study
4) Functional Supervising คือการกำกับดูแลการทำงานโดยผู้บริหารทำหน้าที่วางแผน (planning) จัดองค์การ (organizing) และตัดสินใจ (decision-making) ในขณะที่ผู้ปฏิบัติงานปฏิบัติหน้าที่ของตนซึ่งในอดีตนั้นความรับผิดชอบงานเกือบทั้งหมดถูกผลักให้เป็นหน้าที่ของผู้ปฏิบัติงาน
3) Management Cooperation คือการสร้างความร่วมมือระหว่างผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานเพื่อให้แน่ใจว่างานที่ทำอยู่นั้นเป็นไปตามหลักการทางวิทยาศาสตร์
หลักการจัดการตามหลักบริหาร (Administrative Management)
ผู้เสนอแนวคิด Henri Fayol“ ผู้ริเริ่มหลักการจัดการตามหลักบริหารหลักการ 14 หลักการ
การแบ่างงานกันทำ
การให้อำนาจ
ความมีวินัย
เอกภาพในกาารบังคับบัญชา
หลักการมีทิศทางเดียวกัน
การถือประโยชน์ส่วนร่วมมากกว่าประโยชน์ส่วนร่วมมากกว่าส่วนบุคคล
การจ่ายค่าตอบแทน
การร่วมอำนาจ
สายการบังคับบัญชา
ความมีระเบียบ
ความมั่นคงของบุคคลากร
ความเท่าเทียมกัน
ความคิกริเริ่มสร้างสรรค์
หลักความสามัคคี
หลักการตามระบบราชการ (Bureucracy management)
ผู้เสนอแนวคิด Max Weber ผู้เขียนตำรา "Theory of social and Economics Organization" "หลักการจัดการตามระบบราชการ 7 หลัก
การแบ่งงานกันทำ
การจัดตำแหน่งตามสายบังคับบัญชา
การกำหนดกฎเกณฑ์ระเบียบข้อบังคับ
บุคคลทำหน้าที่ที่กำหนดไว้อย่างเป็นทางการโดยไม่ยึดความเป็นส่วนตัว
การจ้างงานใช้หลักคุณสมบัติทางวิชาชีพ
มีความก้าวหน้าในอาชีพ
มีอำนาจตามกฎหมาย
ทฤษฎีการบริหารตามแนวมนุษยสัมพันธ์ CHUMAN RELATION)
การศึกษา HAWTHORNE
Human Relation
โดย Elton Mayo และ Fritz Roethlisberger
การเพิ่มผลผลิตเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงของกลุ่มและการจัดการที่มีประสิทธิภาพมากกว่าความต้องการของนายจ้างหรือปัจจัยทางกายภาพใดๆ
ผลจากการเปลี่ยนประสิทธิภาพมี 2 ปัจจัย
ป้องยกาจัดตนและมนุษย์
การแรการจัดกามที่มีประสิทธิผล
การเปลี่ยนแปลง 3 ระยะ
1.ระยะละลายพฤติกรรม
ระยะตามเปลี่ยนแปลง
ระยะรักษาสมดุลภาพการเปลี่ยนแปลง
ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงลีวิน
เสนอโดย Kurt Lewin
ผลจากการวิจัยแสดงให้เห็นถึงพฤติกรรมของบุคคลเมื่อเผชิญกับสถานการณ์ที่มีการเปลี่นแปลง 3 ระยะ
ทฤษฎีการบริการเชิงพฤติกรรมศาสตร์ (BEHAVIORAL THEORY)
ประกอบด้วยทฤษฎีที่สำคัญอยู่ 2 ทฤษฎี
1.ทฤษฎีแรงจูงใจของมาสโลว์
โดย Abraham Maslow ผู้พัฒนาทฤษฎีแรงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจมีสาระสำคัญคือ
มนุษย์มีความต้องการไม่สิ้นสุด
มนุษย์พยายามหาวิธีการต่างๆ
ลำดับความต้องการของมนุษย์มี 5 ขั้น
ความต้องการ 5 ขั้น
ความต้องการทางกายภาพ
ความต้องการความมั่นคงและความปลอดภัย
3.ความต้องการความรักและเป็นส่วนหนึ่งของสังคม
ความต้องการการยอมรับนับถือ
ความต้องการเติมความสมบูรณ์ในชีวิต
2.ทฤษฎีสองปัจจัยโดย
Frederick Herzberg
ความพึงพอใจเกิดจากแรงจูงใจตามองค์ประกอบทฤษฎี 2 ปัจจัย
ปัจจัยจูง (Motivation factors)
นโยบายและการบริหารขององค์กร
การบังคับบัญชาและการควบคุมดูแ
ความสัมพันธ์กับหัวงาน
ความัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน
ความสัมพันธ์กับผู้ใต้บังคับบัญชา
ตำแหน่งงาน
ความมั่นคงในการงาน
ชีวิตส่วนตัว
สภาพการงาน
ค่าตอบแทนและสวัสดิการ
ปัจจัยอนามัย (hygiene fators)
ความสำเร็จในการทำ
การได้รับการยอมรับ
ความก้าวหน้าในการทำงาน
ลักษณะงานที่ทำ
ความรับผิดชอบ
ทฤษฎีบริหารการจัดการร่วมสมัย Contemporary Management Era) ประกอบด้วยทฤษฎีสำคัญ 2 ทฤษฎี
ทฤษฎีระบบ (System Theory)
โดยผู้ริเริ่ม Ludwig von Bertalanffy
ซึ่งองค์ประกอบพื้นฐานของทฤษฎีระบบมีทั้งหมด 4 ประการ
องค์ประกอบ 4 อย่าง
สิ่งนำเข้า (input) หมายถึงทรัพยากรที่นำไปใช้ประโยชน์กระบวนการการจัดการ
กระบวนการการจัดการ (process) หมายถึงกระบวนการนำสิ่งนำเข้ามาใช้ในการจัดการ
ผลผิตหรือผลลัพธ์ (output) หมายถึงผลลัพธ์โดยตงที่เป็นผลมาจากกระบวนการจัดการ
ข้อมูลย้อนกลับ (feedback) เป็นการนำข้อมูลจากผลผลิตหรือผลลัพธ์ย้อนกลับไปยังนำเข้าเพื่อนำไปใช้ปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
ทฤษฎีการบริหารเชิงสถานการณ์ (Contingency Thery)
ทฤษฎีที่ใช้ในหลักการจัดการที่ว่าองค์กรระบบเปิดและสภาพในและภายนอกองค์กรมีการเปลี่ยนแปลงตามบริบรของโลกซึ่งสาระสำคัญมีอยู่ทั้งหมด 7 ข้อ
สาระสาคัญของการบริการ
การบริหารจะดีหรือไม่ดีขึ้นอยู่กับสถานการณ์
ผู้บริหารจะต้องสามารถวิเคราะห์สถานการณ์ให้ดีที่สุด
สถานการณ์จะเป็นตัวกำหนดการตัดสินใจและรูปแบการบริหารที่เหมาะสม
เป็นการผสมผสานแนวคิดระหว่างระบบเปิดและระบบปิดและยอมหรับหลักการของทฤษฎีระหว่างทุกส่วนของระบบจะต้องสัมพันธ์และมีผลกระทบซึ่งกันและกัน
คำนึงถึงสิ่งแวดล้อมและความต้องการของบุคคลในหน่วยงานเป็นหลักมากกว่าที่จะแสดงวิธีการอันดีเลิศมาใช้งาน
การออกแบบองค์การต้องสอดคล้องกับสถานการณ์
ผู้บริหารต้องรู้จักการพิจารณาความแตกต่างที่มีอยู่ในหน่วยงาน
นาย วีระฉัตร สาระพล รหัสนักศึกษา 62110147