Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิวัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการบริหาร - Coggle Diagram
วิวัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการบริหาร
ทฤษฎีการบริหารตามยุคคลาสสิก (Classical organizational theory)
หลักการจัดการตามหลักการบริหาร (Administrative Management)
ผู้เสนอแนวคิด Henri Fayol ผู้ริเริ่มหลักการจัดการตามหลักบริหาร
การรวมอำนาจ
สายบังคับบัญชา
การจ่ายค่าตอบแทน
ความมีระเบียบ
การถือประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตัว
ความเท่าเทียมกัน
หลักการมีทิศทางเดียวกัน
ความมั่นคงของบุคลากร
เอกภาพในการบังคับบัญชา
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ความมีวินัย
หลักความสามัคคี
การให้อำนาจ
การแบ่งงานกันทำ
หลักการจัดการตามระบบราชการ (Bureaucracy Management)
ผู้เสนอแนวคิด Max Weber ผู้เขียนตำราชื่อ Theory of Social and Economics Organization
บุคคลทำหน้าที่ที่กำหนดไว้ ไม่ยึดความเป็นส่วนตัว
การจ้างงานใช้หลักคุณสมบัติทางวิชาชีพ
การกำหนดกฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบังคับ
มีความก้าวหน้าในอาชีพ
การจัดตำแหน่งตามสายบังคับบัญชา
มีอำนาจตามกฎหมาย
การแบ่งงานกันทำตามความรู้
บิดาแห่งหลักการบริหารตามหลักวิทยาศาสตร์
ผู้เสนอแนวคิด Frederick Winlow Taylor
Scientific Job Analysis การวิเคราะห์ตามหลักวิทยาศาสตร์ ผ่านการสังเกต รวบรวมข้อมูล วัดอย่างรอบคอบ
Functional Supervising การกำกับดูแลการทำงาน
Management Cooperation การสร้างความร่วมมือระหว่างผู้บริหารและผู้ปฎิบัติงาน
Selection of Personnel การคัดเลือกบุคลากร
ทฤษฎีการบริหารตามแนวมนุษย์สัมพันธ์ (Human Relations)
การศึกษาของ Hawthorne (The Hawthorne Studies) ผู้เสนอแนวคิด Elton Mayo และ Fritz Roethberger
การเพิ่มผลผลิตมีผลมาจากการเปลี่ยนแปลงของกลุ่ม และจัดการที่มีประสิทธิภาพมากกว่าความต้องการของนายจ้าง หรือปัจจัยทางกายภาพ
การปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตเกิดจาก 2 ส่วน
ปัจจัยทางสังคม และมนุษย์ EX. การมีกำลังใจในการทำงาน
การบริหารจัดการที่มีประสิทธิผล EX. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล การสร้างแรงจูงใจ
ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงของลีวิน ผู้เสนอแนวคิด Kurt Lewin
พฤติกรรมของบุคคลเมื่อเผชิญกับสถาณการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลง มี 3 ระยะ
ระยะการเปลี่ยนแปลง(Changing) ระยะที่บุคคลเข้าใจความจำเป็นที่มีการเปลี่ยนแปลง ลดการต่อต้าน มีเจตคติที่ดี
ระยะรักษาดุลยภาพการเปลี่ยนแปลง(Refreezing) เริ่มเรียนรู้แนวทางปฎิบัติที่เปลี่ยนแปลง
ระยะละลายพฤติกรรม(Unfreezing) ระยะเริ่มแรกบุคคลรู้ว่าจะมีการเปลี่ยนแปลง มีการต่อต้าน
ทฤษฎีการบริหารเชิงพฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral Theory)
ทฤษฎีแรงจูงใจของมาสโลว์(Maslow's Motivetion Therory)
ผู้เสนอแนวคิด Abraham Maslow
มนุษย์มีความต้องการไม่สิ้นสุด
ลำดับขั้นความต้องการของมนุษย์มี 5 ลำดับขั้น
ขั้นที่ 2 ความต้องการความมั่นคงและปลอดภัย
ขั้นที่ 3 ความต้องการความรัก เป็นส่วนหนึ่งของสังคม
ขั้นที่ 1 ความต้องการทางกายภาพ
ขั้นที่ 4 ความต้องการ การยอมรับนับถือ
ขั้นที่ 5 ต้องการ การเติมเต็มความสมบูรณ์ในชีวิต
มนุษย์พยายามหาวิธีต่างๆ ที่ทำให้ตนเองได้รับสิ่งที่ต้องการ
ทฤษฎีสองปัจจัย(Two-Factor Theory)
ผู้เสนอแนวคิด Frederick Herzbery
ปัจจัยอนามัย(Hygiene factor)
"ปัจจัยอนามัยต่ำกว่าระดับที่ควรจะเป็น บุคลากรเกิดความไม่พอใจในการปฏิบัติงาน"
มี 5 ด้าน
ความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน
ลักษณะงานที่ทำ
การได้รับการยอมรับ
ความรับผิดชอบ
ความสำเร็จในการทำงาน
ปัจจัยจูงใจ(Motivation factor)
"ปัจจัยจูงใจลดต่ำลงกว่าระดับที่ควรจะเป็น ประสิทธิภาพประสิทธิผลของการทำงานต่ำลง"
มี 10 ด้าน
ตำแหน่งงาน
ความมั่นคงในการทำงาน
ความสัมพันธ์กับผู้ใต้บังคับบัญชา
ชีวิตส่วนตัว
ความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน
สภาพการทำงาน
ความสัมพันธ์กับหัวหน้างาน
การบังคับบัญชา การควบคุมดูแล
นโยบายการบริหารขององค์กร
ค่าตอบแทน และสวัสดิการ
ทฤษฎีการบริหารยุคการจัดการร่วมสมัย
(Contemporary Managemant Era)
ทฤษฎีการบริหารเชิงสถานการณ์
(Contingency Theory)
ผู้บริหารต้องรู้จักการพิจารณาความแตกต่างที่มีอยู่ในหน่วยงาน
การออกแบบองค์กรต้องสอดคล้องกับสถานการณ์
สถานการณ์เป็นตัวกำหนดการรตัดสินใจ และรูปแบบการบริหารที่เหมาะสม
คำนึงถึงสิ่งแวดล้อมและความต้องการของบุคคลในหน่วยงานเป็นหลัก
ผู้บริหารจะต้องสามารถวิเคราะห์สถานการณ์ให้ดีที่สุด
เป็นการผสมผสานแนวคิดระหว่างระบบเปิด และระบบปิด
การบริหารจะดีหรือไม่ดีขึ้นอยู่กับสถานการณ์
ทฤษฎีระบบ(System Theory)
ผู้ริเริ่มพัฒนาทฤษฎีระบบ Ludwing von Beertalanffy
องค์ประกอบพื้นฐานของทฤษฎีระบบ
กระบวนการจัดการ(Process) กระบวนการนำสิ่งนำเข้า มาใช้ในการจัดการ เช่น การวางแผนงาน การอำนวยการ การควบคุม
ผลผลิตหรือผลลัพธ์(Output) ผลลัพธ์โดยตรงที่เป็นผลจากกระบวนการจัดกการโดยวัดหรือประเมินจากสิ่งต่างๆ เช่น ประสิทธิภาพ คุณภาพ
สิ่งนำเข้า(Input) ทรัพยากรที่นำมาใช้ประโยชน์ในกระบวนการจัดการ เช่น เงิน คน เครื่องจักร
ข้อมูลย้อนกลับหรือการป้อนกลับของข้อมูล(Feedback) เป็นการนำข้อมูลจากผลผลิตหรือผลลัพธ์ย้อนกลับไปยังสิ่งนำเข้าเพื่อนำไปปรับปรุงกระบวนการบริหารอย่างต่อเนื่อง