Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงทางด้านสรีรวิทยาและจิตสังคมในระยะตั้งครรภ์,…
การเปลี่ยนแปลงทางด้านสรีรวิทยาและจิตสังคมในระยะตั้งครรภ์
การเปลี่ยนแปลงด้านกายวิภาคและสรีรวิทยาในหญิงตั้งครรภ์
1 ระบบสืบพันธ์ุ (Reproductive System)
1.3 มดลูก
มีรูปร่างเป็นรูปแพร์ หรือ รูปชมพู
ขนาดมดลูก
22 สัปดาห์ มีความจุ 1000 มล.
ครบกำหนดอาจถึง 5000 มล.
8 สัปดาห์ มีความจุ 160 มล.
ก่อน 12 สัปดาห์ มดลูกยังยู่ในอุ้งเชิงกราน
หลัง 12 สัปดาห์ เปลี่ยนจากลูกชมพู่ เป็นลูกกลมๆ "spherical shape" หลังจากนั้นลูกจะโตตามแนวยาว "ovoid shape"
20 สัปดาห์ ยอดมดลูกสูงเกือบถึงสะดือ
36 สัปดาห์ ยอดมดลูกสูงสุดถึง xiphiod process
ตำแหน่งมดลูก
เมื่อมดลูกโตขึ้น จะเอียงไปด้านขวาเล็กน้อย
ท่ายืน
ตั้งฉากแนว pelvic inlet
ท่านอน
วางทาบกับแนวกระดูกสันหลัง
การหดรัดตัวของมดลูก
หลังตั้งครรภ์ได้ 4 เดือน เรียกการหดตัวของมดลูกว่า "Braxton Hicks contraction"
การไหลเวียนโลหิตของมดล
ช่วงแรก
ปริมาณเลือดทั้งหมดจะไหลไปที่ Myometrium และ Endometrium
ช่วงท้าย
ผ่านไปที่รก
ปัจจัยที่ทำให้การไหลเวียนของมดลูกลดลง
การหดรัดตัวของมดลูก
หญิงตั้งครรภ์อยู่ในท่านอนหงาย
ความดันเลือดของหญิงตั้งครรภ์
1.4 รังไข่ (ovaries)
ขณะตั้งครรภ์ไม่มีการตกไข่
1.2 ปากมดลูก (cervix)
เมื่ออายุครรภ์ 4 สัปดาห์
ปากมดลูกอ่อนนิ่ม "Goodell's sign"
เมือกขุ่นข้นที่ปิดบริเวณปากมดลูก "Mucos plug และ Cervical plug"
เมื่อเข้าสู่ระยะคลอด
มูกที่หลุดมาพร้อมกับมีเลือดปน "Bloody show"
สตรีที่ยังไม่ผ่านการคลอดผนังช่องคลอดจะมีรอยย่น เรียกว่า "Rugae"
1.5 เต้านม
มีการเปลี่ยนทั้งขนาดและรูปร่าง ถ้าเต้านมมีเลือดมาเลี้ยงมากขึ้น จะพบรอยแตก "Stretch marks"
หัวนม (Nipple)
ใหญ่ขึ้น คล้ำขึ้น ตั้งชันขึ้น
1.1 อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกและช่องคลอด (vulva and vagina)
ผิวหนังช่องคลอดเปลี่ยนจากสีชมพู เป็น สีม่วง เรียกว่า "Chadwick's sign"
ติดเชื้อราที่ช่องคลอดได้ง่าย
ช่องคลอดมีเลือดมาเลี้ยงมากขึ้น
2 ระบบต่อมไร้ท่อ
2.4 ตับอ่อน (Pancrease)
ระยะแรกการตั้งครรภ์
Hypogycemia
ระยะหลังการตั้งครรภ์
Hypergycemia
2.5 ต่อมหมวกไต (Adrenal gland)
Cortisal
Aldosterone
2.3 ต่อมพาราธัยรอยด์ (parathyroid gland)
2.6 ฮอร์โมนจากรก (Placenta Hormone)
Human chorionic gonadotropic (HCG)
สร้างขึ้นในระยะแรกของการตั้งครรภ์
Estrogen Hormone
Progesterone Hormone
Human Placenta Lactogen (HPL) Hormone
Relaxin Hormone
2.2 ต่อมธัยรอยด์ (Thyroid gland)
ถ้าหญิงตั้งครรภ์ได้รับไอโอดีนไม่เพียงพอจะทำให้ทารกในครรภ์เกิดภาวะ Cretinism
2.1 ต่อมใต้สมอง
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า
หลัง Prolactin กระตุ้นการผลิตน้ำนม
ต่อมใต้สมองส่วนหลัง
หลั่ง Oxytocin กระตุ้นการหลั่งน้ำนมหลังคลอด และทำให้มดลูกหดรัดตัวป้องกันภาวะตกเลือดหลังคลอด
3 ระบบหัวใจและหลอดเลือด (Cardiovascular System)
3.2 ปริมาณเลือดและเม็ดเลือด
ปริมาณของพลาสมา (Blood volume)
เพิ่มขึ้นตั้งแต่อายุ 6-8 สัปดาห์ และเพิ่มขึ้นสูงสุด 40-50% เมื่ออายุครรภ์ 32-34 สัปดาห์
ส่วนประกอบของเลือด (Blood components)
ปริมาณของเม็ดเลือดแดง (Red blood cell volume)
3.3 ความต้องการธาตุเหล็ก
3.1 หัวใจ (Heart)
ตำแหน่ง
เมื่อมดลูกโตขึ้น เบียดดันกระบังลม ทำให้หัวใจเลื่อนตัวขึ้นบน เอียงซ้าย 15 องศา
ระบบหายใจ
เปลี่ยนแปลงแบบค่อยเป็นค่อยไปกตามอายุครรภ์ที่เพิ่มขึ้น
การเปลี่ยนแปลงด้านกายวิภาคและสรีรวิทยาในหญิงตั้งครรภ์
ระบบขับถ่าย
กระเพาะปัสสาวะ
ตำแหน่งปัสสาวะค่อนมาด้านหน้าและอยู่สูงจากเดิม เยื่อบุหนาขึ้น ความจุเพิ่มขึ้น 2 เท่า
ในระยะสามเดือนแรกของการตั้งครรภ์ มารดาไม่ควรกลั้นปัสสาวะเพราะจะทำให้เกิดการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะได้
การนอนตะแคงซ้ายจะทำให้หญิงตังครรภ์ปัสสาวะบ่อยขึ้น
ไตและท่อไต
ไตและท่อไตมีขนาดใหญ่ขึ้น ขดงอมากขึ้น การเคลื่อนไหวของไตช้าลง
หลอดไตข้างขวาจะถูกกดมากกว่าหลอดไตข้างซ้าย
เกิดภาวะ Hydronephrosis และ Hydroureter ทำให้เกิดปัสสาวะคั่งค้าง เกิดการติดเชื้อที่ไตและกรวยไต
ระบบทางเดินอาหาร
6.2 หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลำไส้
กรดไหลย้อน มีอาการปวดแสบปวดร้อนที่หยอดอก "heart burn"
6.3 ถุงน้ำดี
น้ำดีไหลช้า เกดการคั่งทำให้พบนิ่งในถุงน้ำดี
6.1 ปากและช่องปาก (mouth and oral cavity)
เหงือกบวม น้ำลายมาก
7.ระบบผิวหนัง
7.2 อัตราการเจริญเติมโตของเส้นผมลดลง
จะกลับปกติภายใน 6-12 เดือนหลังคลอด
7.3 เส้นเลือดที่ผิวหนัง (Vascular spiders
มีจุดสีแดงขนาดเล็ก บริเวณใบหน้า ลำคอ อก แขน มักพบร่วมกับฝ่ามือแดง หายหลางคลอด 1 สัปดาห์
7.1 การสร้างเม็ดสีผิวเพิ่มขึ้น (Hyperpigmentation)
มีสีคล้ำขึ้น
เส้นแนวกลางหน้าท้อง
รักแร้
อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
ลานนม
8.ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
8.2 กล้ามเนื้อหน้าท้องrectusmuscle
8.3 กระดูกสันหลัง
อาจมีอาการปวดหลังมากขึ้น
8.1 ข้อต่อ เอ็นยึดข้อต่อ กระดูกและกระดูกอ่อน กล้ามเนื้อของอุ้งเชิงกราน
หญิงตั้งครรภ์เดินลาบากคล้ายเดินกระโพลกกระเพลก
รู้สึกเจ็บแปล๊บเมื่อขยับตัวรวดเร็ว
การเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตสังคมในระยะตั้งครรภ์
ไตรมาสที่ 1
ความกลัวและความเพ้อฝัน (fear and fantasies)
อารมณ์แปรปรวน (mood swing)
ความรู้สึกเสียใจ (Grife)
ความสนใจและความต้องการทางเพศ
ความไม่แน่ใจ (uncertainty) และความรู้สึกก้ากึ่ง (ambivalence)
ไตรมาสที่ 2
รักและใส่ใจตนเอง (narcissism and introversion)
การรับรู้ภาพลักษณ์ (body image and boundary)
การยอมรับการตั้งครรภ์ (acceptance of pregnancy)
ความสนใจและความต้องการทางเพศ (change in sexual desire)
ไตรมาสที่ 3
ความเครียด (stress)
ความสนใจและความต้องการทางเพศ (change in sexual desire)
การวินิจฉัยการตั้งครรภ์
อาการแสดงการตั้งครรภ์ (Pregnancy sign)
อาการแสดงที่คาดว่าจะตั้งครรภ์(presumptivesignsofpregnancy)
1.5 ความรู้สึกเด็กดิ้นครั้งแรก (Quickening)
1.4 อาการเหนื่อยล้ามาก ( fatique )
1.6 การเปลี่ยนแปลงของเต้านม (changes in the breast)
1.3 อาการปัสสาวะบ่อย (Frequency urination or disturbance in urination)
1.7 การเปลี่ยนแปลงของสีผิวและการเกิดรอยแตกของผิวหนัง (increased skin pigmentation and appearance of abdominal striae)
1.2 อาการคลื่นไส้ (Nausea with or without vomiting )
1.8 การเปลี่ยนสีของเยื่อบุช่องคลอด (discoloration of the vaginal mucosa)
1.1 การขาดประจาเดือน (cessation of menstruation or amenorrhea)
การเปลี่ยนแปลงทางด้านอารมณ์ของบุตรคนก่อนๆ
เด็กวัยเรียน
สนใจการตั้งครรภ อยากได้ฟังเสียงการเต้นของหัวใจทารก และอยากมีส่วนร่วมในการเตรียม ของใช้สาหรับทารกแรกเกิด
วัยรุ่น
อายที่มารดามีน้องใหม่ แต่ก็รักและให้ความช่วยเหลือในการดูแลน้อง
เด็กเล็ก
ต้องการความมั่นใจว่ามารดายังคงรักตน ต้องการเวลาเหมือนที่เคยเป็น
หากบิดา มารดาไม่เข้าใจ
โกรธและอิจฉา
การเปลี่ยนแปลงทางด้านอารมณ์ของสามี
ไตรมาสที่ 2
สามีรับรู้การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายในระยะตั้งครรภ์ของภรรยา รับรู้การเคลื่อนไหวของทารก
ไตรมาสที่ 1
เกิดขึ้นระหว่างความภาคภูมิใจและความวิตกกังวลในบทบาทความรับผิดชอบที่เพิ่มขึ้น
มีอาการแพ้ท้อง (Couvade syndrome) แทนภรรยาในช่วงสามเดือนแรก
ไตรมาสที่ 3
สามีมีการคาดการณ์ล่วงหน้า เกี่ยวกับการคลอด มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
บทที่4การ
พยาบาลผู้ป่วย
จิตเวชเด็กและ
วัยรุ่น
มีความต้องการทางเพศลดลง
รู้สึกเสียใจต่อบทบาทเดิมที่เปลี่ยนไป รวมถึงความรับผิดชอบที่มากขึ้น