Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการ - Coggle Diagram
การส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการ
หลักการของการเจริญเติบโต
ทิศทางการเติบโตเป็นแบบศรีษะไปสู่ส่วนล่างของลำตัว กล่าวคือศรีษะจะเติบโตเร็วกว่าส่วนอื่นในระยะต้นของชีวิต และในช่วงวัยรุ่นจะมีการเจริญเติบโตอย่างมากของแขนและขา
การเติบโตโดยทั่วไปของร่างกายและการเติบโตของอวัยวะระบบต่าง ๆ มีอัตราที่แตกต่างกันไปในแต่ละช่วงอายุ ทั้งนี้ระยะที่อวัยวะเติบโตอย่างรวดเร็วจะเป็นช่วงที่ระยะนั้นมีโอกาสถูกกระทบกระเทือนจากปัจจัยต่าง ๆ มากที่สุด
อัตราการเจริญเติบโตของร่างกายในแต่ละวัยไม่เท่ากัน ระยะที่ร่างกายมีอัตราเติบโตย่างรวดเร็วมากมียู่ 2 ระยะคือ ระยะตั้งแต่ปฏิสนธิถึงอายุ 2 ปี และระยะเข้าสู่วัยรุ่น
การแบ่งช่วงวัยต่าง ๆ ในเด็ก
วัยก่อนเรียน หรือวัยเด็กตอนต้น หมายถึงอายุ 3 – 6 ปี เริ่มเรียนรู้ที่จะทำอะไรด้วยตนเอง เริ่มมีความคิดสร้างสรรค์การเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ
วัยเด็กเล็ก หรือวัยเตาะแตะ หมายถึง เด็กอายุ 1-3 ปี มีการเจริญเติบโตของกล้ามเนื้อมัดใหญ่
วัยเรียน หมายถึง อายุ 6 – 12 ปี เด็กเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทางร่างกาย เริ่มมีการเจริญเติบโตของอวัยวะเพศระยะที่ 2
วัยทารก ตั้งแต่แรกเกิดไปจนถึงายุ 1 ปี เป็นช่งที่มีการเปลี่ยนแปลง อย่างมากทั้งทางด้านพัฒนาการและการเจริญเติบโตของร่างกาย
2.1 วัยทารกแรกเกิด หมายถึงทารกตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 1 เดือน มีการเปลี่ยนแปลงภาพมากมาย ปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมใหม่ภายนอกครรภ์มารดา
2.2 วัยทารก มายถึง ทารกที่มีอายุ 1 เดือนจนถึง 1 ปี มีการเจริญเติบโตที่รวดเร็วเริ่มเรียนรู้เกี่ยวกับ โลกและสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น
วัยรุ่น หมายถึง อายุ 12 – 18 ปี มีการเจริญเติบโตสู่วุฒิทางเพศอย่างสมบูรณ์
6.1 วัยรุ่นตอนต้น อายุประมาณ 12-14 ปี มีคามคิดหมกมุ่น กังลการเปลี่ยนแปลงของร่างกายทำให้อารมณ์งุดงิดแปรปรน
6.2 วัยรุ่นตอนกลาง อายุ 14-18 ปี ยอมรับสภาพร่างกายที่เป็นนุ่มสาวได้แล้ว
6.3 วัยยรุ่นตอนปลาย อายุ 18-21 ปี ขึ้นกับแต่ละบุคคลว่ามีคามรู้สึกเป็นผู้ใหญ่ทำหน้าที่รับผิดชบ
ระยะก่อนคลอด หรือวัยก่อนเกิด มายถึงช่วงวัยที่ทารกยู่ในครรภ์มารดา นับตั้งแต่ปฏินธิจนเกิดซึ่งมีระยะเลาประมาณ 9 เดืน
การประเมินการเจริญเติบโต
น้ำหนัก
ค่าน้ำหนักตามปกติมีดังนี้
2 เท่าของน้ำหนักแรกคลอด เมื่ออายุ 3-4 เดือน
3 เท่าของน้ำหนักแรกคลอด เมื่ออายุ 1 ปี
4 เท่าของน้ำหนักแรกคลอด เมื่ออายุ 2 ปี
หลังายุ 2 ปี จนถึงก่อนเข้าวัยรุ่นน้ำหนักจะขึ้นปีละประมาณ 2.3 กิโลกรัม
ส่วนสูง การเปลี่ยนแปลงทางความสูงจะเกิดขึ้นช้ากว่าการเปลี่ยนแปลงของน้ำหนัก
6 เดือน 65 ซม.
12 เดือน 75 ซม.
แรกเกิด 50 ซม.
2-2 ½ ปี 87 ซม.
4 ปี 100 ซม.
13 ปี 150 ซม.
เส้นรอบศรีษะ การวัดรอบศรีษะโดยใช้สายวัด วัดผ่านส่วนบนของกระดูกเบ้าตาไปยังส่วนนูนที่สุดของ occiput
12 เดือน 45 – 47 ซม.
3 ปี 50 ซม. ( ร้อยละ 90 ของขนาดศรีษะผู้ใหญ่ )
4 เดือน 40 ซม.
10 ปี 55 ซม.
แรกเกิด 36 ±2 (เด็กไทย 34) ซม.
เส้นรอบอก เด็กเล็กอายุน้อยกว่า 5 ปี วัดในท่านอนและขณะ midrespiration ตรงกระดูก xyphoid หรือ substernal notch
การขึ้นของฟัน การขึ้นของฟันบอกการเจริญเติบโตได้บ้าง และเป็นการบอกอายุกระดูกทางอ้อม แต่มีความแตกต่างในเด็กแต่ละคนค่อนข้างมาก
พัฒนาการ หมายถึง การเจริญทางด้าน การทำงานของอวัยวะต่างๆ ที่สำคัญ
ลักษณะของพัฒนาการ
เริ่มจากส่วนกลางลำตัวไปยังส่วนปลาย
เริ่มจากศรีษะไปเท้า
เริ่มจากสิ่งที่ง่ายไปหาสิ่งที่ยาก
หลักการของพัฒนาการ
พัฒนาการเริ่มต้นจากการแสดงออกแบบทั่วๆไปเป็นการแสดงออกที่เฉพาะเจาะจงมากขึ้นเมื่ออายุมากขึ้น
ทิศทางของพัฒนาการเริ่มจากศรีษะไปเท้า
ระดับพัฒนาการของเด็กขึ้นกับวุฒุิภวะของสมองและระบบประาท
พัฒนาการจะเปลี่ยนแปลงจากปฏิกิริยาสะท้อนมาแทนที่ด้วยการเคลื่อนไหวที่ควบคุมได้
ลำดับขั้นตอนของพัฒนาการมีลักษณะเดียวกัน แต่อัตราเร็วช้าที่จะผ่านขั้นตอนต่างๆอาจแตกต่างกัน
พัฒนาการเป็นกระบวนการต่อเนื่องตั้งแต่เริ่มปฏิสนธิจนบุคคลเข้าสู่วุฒิภาะ
พัฒนาการของเด็ก แบ่งได้หลายแบบ
พัฒนาการด้านสติปัญญา
พัฒนาการด้านกล้ามเนื้อมัดเล็ก (Fine Motor Development)
พัฒนาการด้านภาษา (Language Development)
พัฒนาการด้านารมณ์ (Emotional Development)
พัฒนาการด้านร่างกาย
พัฒนาการด้านกล้ามเนื้อมัดใหญ่ (Gross Motor Development)
พัฒนาการด้านกล้ามเนื้อมัดเล็ก (Fine Motor Development)
พัฒนาการด้านังคม (Social Development)
พัฒนาการด้านสังคม (Social Development)
พัฒนาการด้านคุณธรรม (Moral Development)
แนวทางปฏิบัติการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก
จัดสิ่งแวดล้อมที่บ้านให้เหมาะสม
ส่งเสริมพัฒนาการเด็กย่างต่อเนื่องทุกวันอย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง
ขณะฝึกเด็ก ผู้ปกครงควรใช้คำพูดง่าย - สั้น ชัดเจนและคงที่
ให้เวลาเด็กปฏิบัติตาม 3-5 วินาที ถ้าเด็กยังไม่ได้ทำ ให้ผู้ปกครงพูดซ้ำ
ผู้ปกครงควรให้ความช่วยเหลือเด็กเท่าที่จำเป็นลดการช่วยเหลือลงเมื่อเด็กทำได้
ถ้าเด็กเกิดการเรียนรู้แล้ส ให้เปลี่ยนข้อความแบบต่างๆ แต่มีความหมายเหมือนกัน
ผู้ปกครงควรให้แรงเสริมเด็กทันทีเมื่อเด็กทำได้ถูกต้อง
การประเมินพัฒนาการในเด็ก
ประเมินการใช้กล้ามเนื้อส่วนปลายและอวัยวะต่างๆในงานที่ละเอียดมากขึ้น
ประเมินการได้ยิน การพูด และความเข้าใจในการใช้ภาษา
ประเมินการใช้กล้ามเนื้อที่ช่วยในการ เคลื่อนไหว ทั้ง ยืน นั่ง ก้าวเดิน นั่ง กระโดด
ประเมินเรื่องการช่วยเหลือตนเอง ในการทำกิจกรรมต่างๆ และการปรับตัวเข้ากับสิ่งรอบตัว
การประเมิน
P (pass) = “ผ่าน” เด็กทำได้ ผู้เลี้ยงดูบอกว่าทำได้
F (fail) = “ไม่ผ่าน” เด็กทำไม่ได้ ผู้เลี้ยงดูบอกว่าทำไม่ได้ (ต้องทำซ้ำ 3 ครั้ง)
R (refusal) = “ไม่ยอมทำ” หรือ “ไม่ให้ความร่วมมือ” แต่ในการรายงานผลไม่ให้ใส่ “R”
NO (no opportunity) = “ไม่มีโอกาสทำ” ข้อจำกัดจากผู้เลี้ยงดูหรือเหตุผลอื่นๆ
ความต้องการสารอาารในเด็กแต่ละวัย
ช่วงอายุแรกเกิดถึง 4-6 เดือน เป็นระยะที่ทารกดื่มนมแม่เป็นสาอาหารหลักเพียงอย่างเดียว
ช่วงอายุ 6-12 เดือน เปลี่ยนจากการดื่มนมเพียงอย่างเดียวเป็นการเริ่มให้นมร่วม เริมสารอาหารชนิดอื่นๆ
ช่วงที่ทารกควรได้รับอาหารหลัก 5 หมู่เหมือนผู้ใหญ่ ระยะนี้เริ่มตั้งแต่ ประมาณ 10-12 เดือน
ปัญหาทุพโภชนาการ
สาเหตุ
ทารกและเด็กได้รับสารอาหารเสริมไม่เพียงพอ
ปัจจัยอื่นๆ เช่น การเลี้ยงดู ความเจ็บป่วย
ทารกไม่ได้รับการเลี้ยงดูด้วยน้ำนมมารดา หรือได้รับน้อยกว่า 4 เดือน
การพยาบาลผู้ป่วยโรคขาดโปรตีนและพลังงาน
ดูแลให้ได้รับสารอาหารอย่างเพียงพอกับความต้องการของร่างกายตามแผนการรักษา
ดูแลและป้องกันภาะแทรกซ้อน เช่น ภาวะติดเชื้อ ความไม่สมดุลของสารน้ำและอิเลคโตรไลท์
ส่งเสริมหรือกระตุ้นพัฒนาการของเด็กให้เป็นไปตามวัย
การเลี้ยงไม่โต
สาเหตุ
ได้รับสารอาหารและกำลังงานสารอาหารไม่เพียงพอ
มีการดูดซึมสารอาหารจากลำไส้ผิดปกติ
มีการใช้กำลังงานสารอาหารมาก หรือมีความต้องการกำลังงานสารอาหารมาก
การพยาบาล
ส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการ
ส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างผู้ปกครงและเด็ก
ดูแลให้ได้รับสารอาหารอย่างเพียงพอ
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
วัคซีนที่ยู่ในแผนการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของกระทรวงสาธารณสุข ได้แก่ วัคซีนป้องกันวัณโรค วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ บาดทะยัก ไอกรน วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอชนิดกิน วัคซีนป้องกันโรคตับอักเสบจากไวรัสบี วัคซีนป้องกันหัด คางทูม หัดเยอรมัน วัคซีนป้องกันโรคไข้สมองอักเสบ จากเชื้อ Japanese encephalitis virus
วัคซีนที่อยู่นอกแผนการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของกระทรงสาธารณสุข ได้แก่ วัคซีนป้องกัน โรคติดเชื้อ Haemophilus influenza type b วัคซีนป้องกันโรคตับอักเสบจากไวรัสเอ วัคซีนป้องกัน โรคคอตีบ บาดทะยัก ไอกรนชนิด acellular