Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบทางเดินอาหาร - Coggle Diagram
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบทางเดินอาหาร
ยาที่มีฤทธิ์ยับยั้งการหลั่งกรดและป้องกันเยื่อบุกระเพาะอาหาร
ยารักษาแผลทางเดินอาหาร
ยาomeprazole 20 มิลลิกรัม วันละ 2 ครั้งก่อนนอน+ยาamoxicillin 1 กรัม วันละ2 ครั้ง หลังอาหาร+ยาclarithromycin 500 มิลลิกรัม วันละ 2ครั้ง หลังอาหารเป็นเวลา 1 สัปดาห์
กรณีพบเชื้อ+พบแผล กินต่อเนื่อง 10-14วัน
ยากำจัดเชื้อ Helicobacter pylori(ติดต่อทางเดินอาหาร)
พยาธิกำเนิดแผลในทางเดินอาหาร
ปัจจัยที่ทำให้เกิดแผล
น้ำดี
ยา(NSAIDs)(ยาต้านการอับเสบ)
กรด เปบซิน
เชื้อ H.pylori
ปัจจัยในการป้องกัน
เลือดที่ไหล/การสร้างเซลล์
พรอสตาแกลนดิน
เมือก
ลดปัจจัยที่ทำให้เกิดแผลในทางเดินอาหาร/เพิ่มปัจจัยในการป้องกัน
ยายับยั้งการหลั่งกรด(Antisecretory agents)
ใช้เป็นหลักHistamine H2-receptor antagonists
ยาที่ใช้**จับกับตัวรับผันกลับ
**ยาRanitidine(150 mg bid)
(วันละ 2 ครั้ง)
**ยาFamotidine
**Nizatidine
**ยาCimetidine
**ยับยั้งปั้มที่หลั่งโปรตอน(Proton Pump Inhibitor,PPI)(enzyme H+ / K+ ATPase)หลั่งกรดแบบไม่ผันกบับ
**ยาOmeprazole
**ยาLansoprazole ,
**ยาRabeprazole
**ยาEsomeprazole
ยากลุ่มPotassium Competitive Acid Blockers, PCAB(ใช้ในปัจจุบัน)
**ยาVonoprazan
ยาปกป้องเยื่อบุกระเพาะอาหาร(Cytoprotective drug)
ยาที่ใช้
**ยาSucralfate(จับเยื่อผนังทางเดินอาหาร)
ยาMisoprostol (กลุ่ม Prostaglandin)
ยาควบคุมพิเศษ
มดลูกหดรัดตัว
แท้ง
**ยาBismuth subsalicylate(ปัจจุบันไม่ค่อยใช้)
ยาระบาย
ยาระบายที่เพิ่มปริมาณกากอาหาร
**เม็ดแมงลัก
ยาmethylcellulose
**ยาpysllium seed(Metamucil®)
เกิดการถ่าย ภายใน 24 ชม.
ไม่ควรรับประทานยาแห้งๆ
ยาระบายชนิดมีแรงดึงน้ำ(osmotic laxative)
ยาsorbitol
ยาpolyetheline glycol
**ยาglycerin
ยาLactulose(ใช้กับคนท้องได้)
**ยาlactulose
ยาเหน็บGlycerin
**ยาเหน็บทวารหนัก (อุจจาระภายใน 30 นาที)
ยาระบายที่เป็นเกลือ(Saline laxative)
เกลือของแมกนีเซียน โซเดียม และโปตัสเซียน
ถ่ายหลังให้ยา 3 ชม.
ใช้ทำให้ท้องว่าง/ก่อนผ่าตัด/ฉายรังสี/ส่องกล่องที่ลำไส้ใหญ่/กำจัดพยาธิ
ยาที่ช่วยหล่อลื่นอุจจารระ(lubricant laxative)
น้ำมันแร่(mineral oil)
น้ำมันมะกอก(olive oil)
ยาที่ทำให้อุจจาระอ่อนนุ่ม(Stool softener )
ยาDocusate salts
ยาที่มีฤทธิ์กระตุ้นและทำให้ระคายเคือง
ยาcascara
**น้ำมันละหุ่ง/มะขามแขก
**ยาBisacodyl
**มีการใช้ในทางที่ผิด
**ให้ผลภายใน 6-12 ชม.
ยาสวนทวารหนัก
น้ำสบู่SSE(soap sus emema)
ใช้ในกรณีทำความสะอาดลำไส้ก่อนผ่าตัด/ก่อนคลอด
ยาที่ลดอาการท้องเดิน
**ยาLoperamide HCl 2 มก.(Imodium ®) (เข้าสมองน้อยกว่า)
ยาที่ยับยั้ง enkephalinase
ยาRacecadotril (Hidrasec®)ไม่มีผลต่อทางเดินอาหาร
รักษาตามอาการ/พิจรณาหลักการรักษา/ส่วนมากหายเอง
ยาลดอาการหดเกร็ง(Antispasmodics)
ยาhyoscine
ยาchlordiazepoxide
ยาantimuscarinc agents
ยาdicyclomine
**ยาatropine
ยาที่ดูดซึมน้ำ(Hydrophilic Agents)
ยาpolycarbophil
ยาpsyllium(ไม่นิยมใช้แล้ว)
ยาที่มีฟทธิ์ดูดซับ(adsorbents)
ยาpectin
**Diosmectile(ไม่มีอาการค้างเคียงมักใช้กับเด็ก)
ยาKaolin
**ผงถ่าย(Activated charcoal)
ยาที่ออกฤทธิ์เปลี่ยนแปลงการขนส่งอิเลคโตรไลท์
**สารละลายน้ำตาลและเกลือแร่(ORS, oral rehydration solution)
ยาที่ออกฤทธิ์ให้มีการเปลี่ยนแปลงของIntestinal flora
ยาlactobacillus acidophilus
ยากระตุ้นการอาเจียน
*ยาapomorphine HCl
ยาcopper sulfate
ชนิดยาป้องกันการคลื่นไส้อาเจียน
แบ่งเป็น 6 กลุ่ม
Histamine H1 receptor antagonist
**ยาdimenhydrinate(เม็ดเหลือง แก้เมารถ)
ง่วงนอน
Serotonin type3 receptor antagonis
**ยาOndansetron
รักษาโรคมะเร็ง
ยาGranisetron
Muscarinic cholinergic receptor antagonist
**ยาscopolamine(แผ่นแปะ)
**ยาtransdermal scopolamine
Substance P antagonist
**ยาAprepitantผมีอนุพันธุ์ของกัญชา)
ยาอื่น ๆ เช่น วิตามินบี 6
ยาขับลม(Antiflatulents)
ยาsimethicone
ยาpeppermint oil
**ยาAsafoetida
ยาช่วยย่อย(Digestant)
ยาpancreatin
ยาpancrelipase
ยารักษานิ่วBile acids
ยาcholic
ยาchenodiol
ยากดความอยากอาหาร(Drug suppress appetite)
ยาFenfluramine
ยาdexfenfluramine
Dopamine D2 receptor antagonists
ยาPhenothiazine
ยาButyrophenones,
**ยาMetoclopramide(ป้องกันการอาเจียน)
ยาDomperidoneผไม่มีอาการข้างเคียง)รักษากรดไหลย้อน
อาการข้างเคียงextrapiramidal effects
หลักการเลือกใช้ยาป้องกันการคลื่นไส้อาเจียน
มี6 ข้อ
การใช้ยาคลื่นไส้อาเจียนในเด็ก**ยาdomperidone
ในหญิงมีครรภ์
ยาpyridoxine/
ยาdimenhydrinate/**ยาdicyclomine
ยารักษามะเร็งและการฉายรังสี**ยาondansetron
การเมารถเมาเรือ**ยาdimenhydrinate
การติดเชื้อในทางเดินอาหาร **ยาmetoclopramide/ยาdomperidone
สาเหตุอื่นๆ
ยาmetoclopramide/
domperidone
ยาลดกรด (Antacid)
**ยา Aluminium hydroxide (ลดความเป็นกรด/ลดปวดท้อง/ไม่สามารถรักษาให้หายได้
ผลข้างเคียง ท้องผูก
**ยาMagnesium hydroxide (ลดความเป็นกรด/ลดปวดท้อง/ไม่สามารถรักษาให้หายได้
ผลข้างเคียง ท้องเสีย
ขนาดของยา
15-30 มิลลิลิตร หลังอาหาร 1 ชม.และก่อนนอน
กรณีฉุกเฉิน หลังอาหาร 3 ชม.
ยาที่ช่วยเสริมประสิทธิภาพของยาลดกรด
2.ยาbismuth subsalicylate เช่นยากลุ่ม Gastro-bismol
ยาalgenic acid หรือ ยาsodium alginate เช่นกลุ่มยา Gaviscon
ยาsimethicone ,ยาdimethyl polysiloxane เช่นยากลุ่ม Air-X