Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินอาหารที่พบบ่อย, นางสาววิมลสิริ…
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินอาหารที่พบบ่อย
โรคและการพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีความผิดปกติแต่กำเนิด
Esophageal Atresia and Tracheal-Esophageal Fistula
อาการทางคลินิก
มีน้ำลายมาก ไอ เมื่อ suction ก็จะมีขึ้นมาอีก
สำลักง่าย ดูดนมก็จะอาเจียน
ท้องอืด หายใจลำบาก เขียวระหว่างดูดนม และอาจหยุดหายใจ
มีปอดอักเสบร่วมด้วย เนื่องจากสำลักบ่อย หรือมีของเหลวในกระเพาะอาหารไหลย้อนเข้าไปในหลอดอาหารผ่านรูติดต่อไปยังปอด
การวินิจฉัย
มารดามีน้ำคร่ำมาก และทารกมีน้ำลายทางปากจำนวนมาก
หากสงสัยว่าจะเป็น H-type TEF จะทำการ barium esophagogram จัดทารกให้นอนคว่ำ
ทำ bronchoscopy และ esophageal endoscopy เพื่อส่องหา fistula โดยใส่สาร methylene blue เข้าไปในหลอดอาหาร
การรักษา
ผ่าตัด และใส่ Gastrostomy เพื่อให้อาหาร และผูกหลอดอาหารช่วงล่างที่เปิดเข้าหลอดลมไว้ก่อน แล้วนำส่วนหลอดอาหารที่เป็นถุงตันมาเปิดที่คอ
ปัญหาและการพยาบาล
1. เสี่ยงต่ออันตรายจากการเกิดภาวะแทรกซ้อน เกี่ยวเนื่องจากการให้นมผสมทาง gastrostomy tube
การพยาบาล
ดูด content เพื่อตรวจสอบก่อนให้นมทุกครั้ง
จัดท่าศีรษะสูง หรืออุ่มขณะให้นมผสม ปล่อยให้นมไหลช้าๆ
หลังในนม อุ้มเด็กจับเรอ
2. เสี่ยงต่ออันตรายจากการติดเชื้อบริเวณ esophagostomy และ gastrostomy tube
การพยาบาล
เช็ดบริเวณ esophagostomy ด้วย NSS เมื่อมีน้ำลาย
ทำแผลทุกเช้าเย็น
หลังในนมผสมต้องเช็ดปลายสายให้สะอาด
Gastroesophageal Reflux (GER)
การวินิจฉัย
ทำ esophageal pH monitoring ดูความเป้นกรดด่าง
ทำ barium swallowing จะเห็น reflux ได้ชัดเจน
การรักษา
อธิบายให้บิดามารดาเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุ การดำเนินโรค
ในนมที่มีความหนืด เช่น ผสมแป้ง หรือนมสูตรที่ผสมเพิ่มความนืดสำเร็จ
จัดท่านอนคว่ำหรือนอนตะแคงซ้าย หลังให้นมนอนหัวตั้งประมาณ 30 นาที
ในนมน้อยๆ แต่บ่อยครั้ง
การผ่าตัด โดยการทำ fundoplication ด้วยวิธี Neissen โดยมีข้อบ่งชี้คือรักษาด้วยยาไม่ได้ผล มีอาการแทรกซ้อนมาก
Pyloric Stenosis (PS)
กระเพาะอาหารส่วน pylorus
การรักษา
NPO เพื่อป้องกันการอาเจียนและลดการหลั่งของกระเพาะอาหาร
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ เติม KCL ลงในสารน้ำ 2-3 วัน
ผ่าตัดแยกกล้ามเนื้อตามยาว ให้ช่องทางผ่านขยยายออก เรียกว่า Ramstedt's Pyloromyotomy
ให้อาหารหลังผ่าตัด 8-12 hr.
ปัญหาและการพยาบาล
1. เสี่ยงต่ออันตรายจากการเปลี่ยนแปลงของสารน้ำในร่างกาย
การพยาบาล
บันทึก v/s สังเกตภาวะขาดน้ำ
NPO ใส่ NG tube เพื่อ ระบายน้ำในกระเพาะอาหาร
เตรียมและดู IV ให้ถูกต้อง ปรับอัตราให้ถูกต้อง
บันทึก I/O
ชั่งน้ำหนักทุกวัน
2. มีการเปลี่ยนแปลงทางโภชนาการ : ได้รับน้อย เนื่องจากอาเจียนหลังผ่าตัด
การพยาบาล
เริ่มให้ดูดน้ำ นม เพื่อขยายช่องทางเดินอาหาร
อุ่มท่านั่ง ให้นมครั้งละน้อยๆ
ให้นมและอยู่ในท่านั่งประมาณ 1 hr
บันทึก I/O และชั่งน้ำหนักทุกวัน
อธิบายให้มารดาเข้าใจหากมีการอาเจียนหลังผ่าตัด
Gut Obstruction
อาการ
อาเจียยนปนน้ำดี
ท้องอืด
ไม่ถ่ายขี้เทาใน 24 hrs. แรก
ประเภทของลำไส้อุดตัน
Small bowel obstruction
อุดตันที่ส่วนบนของลำไส้เล็ก จะมีอาการท้องอืด อาเจียนปนน้ำดี เห็นการเคลื่อนไหวของสำไส้ทางหน้าท้อง
การรักษา
ผ่าตัด End tp End Anastomosis ต่อลำไส้เล็กที่ดีเข้าหากัน
ปัญหาและการพยาบาล
1. เสี่ยงต่อการเกิด Bleeding,shock,vomiting,fluid-electrolyte imbalance,malabsorption จากการผ่าตัด
การพยาบาล
สังเกต บันทัก v/s I/O , bleeding
ถ้ามีคลื่นไส้ให้นอนตะแคง
NPO ดูแลการให้สารน้ำ
ต่อ NG tube กับ intermittent suction
record content
2. เสี่ยงต่อการเกิดอันตรายจากการติดเชื้อ เกี่ยวเนื่องจากการให้ TPN หรือ PPN
การพยาบาล
เตรียมสารอาหารแบบ aseptic technique
ทำความสะอาดข้อต่อต่างๆ และทำแผล
เปลี่ยน set iv ทุก 1-2 วัน
3. มีการเปลี่ยนแปลงทางโภชนาการ : ได้รับน้อยเกี่ยวเนื่องจากลำไส้ย่อยและดูดซึมได้ไม่ดี
การพยาบาล
ฟัง bowel sound เพื่อประเมินการให้นม
ต่อ NG tube กับ set drip เพื่อให้นมช้าๆ
สังเกตอาการหลังให้นม เช่นท้องอืด ท้องเสีย
Hirschsprung's Disease
ลำไส้ใหญ่โป่งพองขึ้นจากการตีบของส่วนท้าย หลีงจากมีขี้เทาออก จะไม่มีการถ่ายอีกเลย มีท้องอืด
การรักษา
ทำ colostomy เพื่อป้องกันการเกิดอาการลำไส้อุดกั้นจากอุจจาระ และทำการผ่าตัด Duhamel's operation เมื่อทารกพร้อม
ปีญหาและการพยาบาล
1. เสี่ยงต่ออันตรายจากการเกิดแผลเปื่อยรอบๆ colostomy จากอุจจาระ
การพยาบาล
Dry dressing ด้วย NSS เมื่อมีอุจจาระออกมา เช็ดให้แห้งและปิดก๊อส
แนะนำเมื่อกลับบ้าน อาบน้ำฟอกสบู่ปกติ ใช้ผ้าอ้อมที่สะอาด
2. เสี่ยงต่ออันตรายจากการเกิดเลือดออก ติดเชื้อ
การพยาบาล
ไม่ให้ลุกนั่งจนกว่า clamp จะหลุด
ทำแผลทุกครั้งที่มีสิ่งคัดหลั่ง
3. มีโอกาสเกิดท้องผูก จากการขยายตัวที่ rectum ยังทำหน้าที่ได้ไม่ดี
การพยาบาล
ผึกการขับถ่าย นั่งกระโถนเวลาเดียวกันทุกวัน
เมื่อเด็กควบคุมการขับถ่ายได้ก็จะหายเป็นปกติ
Anorectal Malformation
รูทวารตัน
1. ช่องเปิดทวารตีบแคบ
การรักษา ใส่นิ้วเข้าไปหรือใช้เทียนไขขยาย 2-3 เดือน
2. มีเยื่อปิดกั้นบริเวณปากทวารหนัก
การรักษา ตัดเนื้อเย้อกั้นนี้ออก
3. ไม่มีช่องเปิดทวารหนัก
การรักษา ผ่าตัดแก้ไข Transperineal anoplasty
4. การไม่มีลำไส้ส่วนปลายสุด
การรักษา ในระยะแรกทำการเจาะผนังหน้าท้อง และจะทำการแก้ไขภายใน
5. การตีบตันของลำไส้ส่วนปลาย
การรักษา ผ่าตัดต่อ rectum กับ anus
ปัญหาและการพยาบาล
เสี่ยงต่อการเกิด bleeding , infection , anus ตีบแคบจากการทำ anoplasty
การพยาบาล
ไม่วัดปรอททางก้น
ทำความสะอาดด้วย NSS เมื่อมีสิ่งคัดหลั่ง
นอนคว่ำหรือนอนบนห่วงยาก
หลังผ่าตัด 2-3 อาทิตย์ ใช้นิ้วมือหรือเทียนไข วันละครั้ง
Inguinal hernia and Hydrocoele
ไส้เลื่อนและถุงน้ำบริเวณขาหนีบ
สาเหตุ
การเบ่งอุจจาระเนื่องจากท้องผูก เบ่งปัสสาวะจากหนังหุ้มปลายปิด หรือไอมากๆ หรือร้องไห้
พยาธิสภาพ
หากลงมาค้างนาน ทำให้เลืดไปเลี้ยงลำไส้ไม่เพียงพอ เพื่อมีเลือดไปคั่งอยู่มาก และทำให้ลำไส้ตาย
การวินิจฉัย
จากประวัติ พบก้อนบริเวณเหนือขาหนีบ และข้าวหัวเหน่าเข้าๆออกๆ
ตอนไอ ร้องไห้ เบ่ง จะมีก้อนนูนลงในถุงอัณฑะ
การคลำ อาจคลำได้ก้อนนุ่มๆ ของขดลำไส้
ตรวจด้วยนิ้วมือทางทวารหนัก คลำขอบช่องทางออกด้านใน ได้ขดของลำไส้
การรักษา
จะหายไปเองในเด็กต่ำกว่า 1 ปี ถ้าใหญ่มากและอึดอัดจะผ่าตัด Hydrocoelectomy
ปัญหาและการพยาบาล
ฟ
เสี่ยงต่ออันตรายจากการติดเชื้อบริเวณแผลหลังผ่าตัด Herniotomy
การพยาบาล
ให้เช็ดตัวไม่ให้อาบน้ำ ไม่ให้แกะแผลออก
ถ้าเปียกเปื้อน ให้ทำแผลใหม่
ให้มี activity ได้ตามปกติ
โรคและการพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่ไม่ใช่ความผิดปกติแต่กำเนิด
Intussusception
ลำไส้กลืนกัน
สาเหตุ
บริเวณรอยต่อ Ileum กับ Caecum มีการเคลื่อนไหวไม่สัมพันธ์กัน
อาการ
มีอาการปวดท้องรุนแรง มีหน้าซีด ตัวยอ ยกขาทั้ง 2 ข้าง ปวดเป็นพักๆ
อาเจียน และอยากถ่ายอุจจาระ มีอาเจียนมากขึ้น และถ่ายอุจจาระมีสีมูกเลือด
ถ้าไม่ได้รับการรักษาทันท่วงที อาจเสียชีวิต
จะมีไข้หากมีภาวะขาดน้ำรุนแรง
การวินิจฉัย
มีอาการปวดท้องเป็นระยะ มีอุจจาระเป็นมูกเลือด
คลำพบก้อนรูปไส้กรอก ตรวจทางทวารหนักคลำพบไส้กลืน
จากภาพถ่ายรังสีช่องท้อง มีลักษณะขดลวดสปริง
การตรวจพบอื่นๆ มีภาวะขาดน้ำหรืออักเสบในช่องท้อง
การรักษา
รักษาอาการช็อก แก้ภาวะขาดน้ำ และอาการที่เกิดจากภาะวลำไส้อุดกั้น
ถ้าไม่มีอาการแสดงของเยื่อบุช่องท้องอักเสบ ควรสวน barium
ถ้้ามีอาการแสดงของเยื่อบุช่องท้องอักเสบ ต้องผ่าตัดลำไส้ส่วนที่กลืนกันออก และตัดไส้ติ่งอักเสบออกด้วย
นางสาววิมลสิริ กะหมาย รหัสนักศึกษา 6203400006