Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎการบริหารยุคคลาสสิก (Classical organizational theory) - Coggle Diagram
ทฤษฎการบริหารยุคคลาสสิก (Classical organizational theory)
หลักการจัดการตามระบบราชการ (Bureaucracy management)
ผู้เสนอแนวคิดคือ
Max Weber
นักสังคมวิทยาชาวเยอรมัน
ผู้เขียนตำราชื่อ " Theory of Social and Economics Organization"
การกำหนดกฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบังคับ และขั้นตอนปฏิบัติงาน
1.การแบ่งงานกันทำ (division of work) ตามความรู้ ความชำนาญ
มีความก้าวหน้าในอาชีพ (career aspects)
การจัดตำแหน่งตามสายการบังคับบัญชา (scalar chain)
มีอำนาจตามกฏหมาย (legal authority)
การจ้างงานใช้หลักคุณสมบัติทางวิชาชีพ (prpfessional qualities)
บุคคลทำหน้าที่ๆกำหนดไว้อย่างเป็นทางการโดยไม่ยึดความเป็นส่วนตัว
หลักการบริหารตามหลักวิทยาศาสตร์ (Scientific Mamagement)
ผู้เสนอแนวคิดได้แก่
Frederick Winlow Taylor
เป็นวิศวกรชาวอเมริกันและได้ชื่อว่าเป็น
"บิดาแห่งหลักการบริหารตามหลักวิทยาศาสตร์
Scientific Job Analvsis
การวิเคราะห์งานตามหลักวิทยาศาสตร์ โดยผ่านการสังเกตการรวบรวมข้อมูลและการวัดอย่างรอบคอบ จนเกิด "วิธีที่ดีที่สุด One best way"
Selection of Personnel
การคัดเลือกบุคลากรที่เหมาะสมกับงานแต่ละงาน
Management Cooperation
การสร้างความร่วมมือระหว่างผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน
Functional Supervising
การกำกับการดูแลการทำงาน โดยผู้บริหารทำหน้าที่ วางแผน จัดองค์การและตัดสินใจ ในขณะที่ผู้ปฏิบัติงานปฏิบัติหน้าที่ของตน
เกิดขึ้นในช่วงศตวรรษที่ 18-19 ในประเทศสหรัฐอเมริกา
หลักการจัดการตามหลักบริหาร (Administrative Management)
ผู้เสนอแนวคิดนี้ได้แก่
Henri Fayol
ซึ่งเป็น วิศวกรและนักอุตสาหกรรมชาวฝรั่งเศส
การแบ่งงานกันทำ (division of work) โดยการลดของเสีย การเพิ่มผลผลิต และการทำงานให้ง่าย
การให้อำนาจ (authority) คือสิทธิในการสั่งการให้ผู้ปฏิบัติงานกระทำตาม
ความมีวินัย (discipline) เป็นการปฏิบัติตามข้อตกลงในการทำงานร่วมกัน
เอกภาพในการบังคับบัญชา (unity of command) คือการรับคำสั่งจากผู้บังคับบัญชาคนเดียวเท่านั้น
5.หลักการมีทิศทางเดียวกัน (unity of direction) เพื่อให้บรรลุเป้าหมายเดียว
6.การถือประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนบุคคล (subordination of individual imterest to general interest)
การจ่ายค่าตอบแทน (remuneration) ควรมีความเป็นธรรมและเป็นที่พึงพอใจต่อทั้งผู้ปฏิบัติงานและองค์การ
การรวมอำนาจ (Centralization) คือการกระจายอำนาจย่างเหมาะสม และให้ผู้ปฏิบัติงานมีอำนาจมากพอที่จะทำภารกิจได้สำเร็จ
สายการบังคับบัญชา (scalar chain) คือกลุ่มผู้บังคับบัญชาตั้งแต่ผู้ที่มีอำนาจสูงสุดไปจนถึงต่ำสุด
10.ความมีระเบียบ (order) ทรัพยากรมนุษย์และวัสถุควรได้รับการจัดให้อยู่ในสถานที่และเวลาที่เหมาะสม
ความเท่าเทียม (equity) ผู้บริหารต้องมีความยุติธรรมและความเมตตาต่อผู้ปฏิบัติงาน
ความมั่นคงของบุคลากร (stability of personnel) การส่งเสริมให้พนักงานมีความผูกพันต่อองค์การ
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ (initiative) การเปิดโอกาสให้บุคลากรได้แสดงออกซึ่งความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
14.หลักความสามัคคี (esprit de corps) การรักษาความเป็นทีมและความสามัคคีระหว่างทีมงาน