Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ Hypoglycemia, ค่าปกติDTX ในเด็ก >60-120 mg/dL -…
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ Hypoglycemia
ความหมาย
คือ ภาวะที่มีระดับกลูโคสในพลาสมาตำ่กว่า 40 มก./ดล. ไม่ว่ามารกจะมีน้ำหนักตัวหรืออายุเท่าใด
สาเหตุ
ร่างกายมีการสร้างน้ำตาลกลูโคสได้น้อย
ร่างกายมีการสร้างน้ำตาลกลูโคสเพิ่มมากขึ้น
2.1 น้ำตาลในเลือดต่ำชนิดเป็นชั่วคราว
มีการติดเชื้อในกระแสเลือด
มารดามีประวัติ pre-eclampsia
มีขี้เทาในน้ำครำ่
เกิดก่อนกำหนด
เจริญเติบโตในครรภ์ช้า
แฝดที่มีน้ำน้อย
มีภาวะเลือดข้น
ขาดออกซิเจน
อุณหภูมิร่างกายต่ำ
2.2 น้ำตาลในเลือดต่ำชนิดที่กลับเป็นซ้ำหรือเป็นตลอดไป
ภาวะอินซูลินเกิน
ความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ
ความผิดปกติของเมตาบอลิซึม
พยาธิสภาพ
ทารกขณะอยู่ในครรภ์ได้รับกลูโคสจากมารดา
ผ่านทางรก
อินซูลินไม่สามารถผ่านรกได้
ระดับกลูโคสในเลือดมารกจะเท่ากับระดับกลูโคสของมารดา
ระดับกลูโคสมารดาสูง
ทารกมีระดับกลูโคสเพิ่มสูงด้วย
ทำให้ทารกมีระดับอินซูลินเพิ่มสูง
หลังคลอดทารกไม่ได้รับกลูโคสจากมารดา
ระดับกลูโคสทารกจะลดลงภายใน 1-2 ชม. แรก
ทารกจะต้องปรับสมดุลในระยะแรกอาศัยแหล่งน้ำตาลที่สะสมไว้ที่ตับ
จะต้องมีไกลโคเจนที่ตับเพียงพอ
เมื่อการทำงานของตับ เอนไซม์ และกระบวนการไกลโคจีเนซิสของทารกยังไม่สมบูรณ์
ไกลโคเจนในตับน้อย
ทำให้ทารกมีโอกาสเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
การวินิจฉัย
Serum glucose test
ผลระดับน้ำตาลในเลือดต่ำจากการใช้แถบตรวจน้ำตาลจะต้องส่งเลือดตรวจทางห้องปฏิบัติการทุกราย
ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด โดยทั่วไปนิยมใช้แถบตรวจน้ำตาล (Dextrostix) และใช้ในการตรวจติดตามเป็นระยะๆ
ทารกมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ ควรตวรจดูระดับน้ำตาลในเลือดระหว่างทุก 30นาถึง 2 ชั่วโมง
อาการและอาการแสดง
อาการสั่น (tremor)
ไม่รู้สติ
เหงื่อออก
ซักกระตุกเฉพาะที่
อุณหภูมิร่างกายต่ำ
ซีดหรือเขียว หยุดหายใจ
มีสะดุ้งผวา
หายใจไม่สม่ำเสมอ หรือ หายใจเร็ว
ร้องเสียงแหลม
กรอกตาไปมา
เนื้อตัวอ่อนปวกเปียก
อาการซึม ไม่ดูดนม
การรักษา
มีภาวะเสี่ยงน้ำตาลในเลือดต่ำ
ตรวจระดับน้ำตาลทุก 1-2 ชม.หลังเกิดติดตามเป็นระยะในช่วง 6-8 ชม.แรก
มีภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
รายที่แสดงอาการ
ให้สารละลายกลูโคสในรูปของเดซ์โทรส 10% ในน้ำ (D10%W)มิลลิลิตร/กิโลกรัม (200มิลลิกรัม/กิโลกรัม)
การใช้ยาไฮโดรคอติโซน (hydrocortisone) 5 มิลลิกรัม/กิโลกรัม โดยแบ่งให้วันละ 2 ครั้ง
ไม่แสดงอาการ
ตรวจระดับน้ำตาลทุกทุก30นาที - ให้กินสารละลายกลูโคสหรือนม
ดูแลทั่วไป
รักษาภาวะ RDS
ติดเชื้อ
โรคทางพันธุกรรม
ป้องกันการใช้พลังงานเพิ่ม (อุณหภูมิกายต่ำ)
ปัจจัยเสี่ยง
ด้านมารดา
ผ่าตัดคลอด
คลอดยาก
ภาวะครรภ์เป็นพิษ
มารดาเป็นเบาหวาน
ด้านทารก
การเจ็บป่วย
ติดเชื้อ
หายใจลำบาก
โรคเลือดที่มีการทำลายของเม็ดเลือดแดงทารกแรกเกิด
ความผิดปกติแต่กำเนิด
Congenital heart diseas
Microcephallus
Omphalocele
เกิดก่อนกำหนด
มีภาวะ SGA หรือ LGA
อื่นๆ
ได้รับอาหารช้าหรืออาเจียน
Adrenal insuffciency
Pancreatie disease
การพยาบาล
การประเมินภาวะสุขภาพ
การซักประวัติ
ประวัติการตั้งครรภ์
ประวัติการเจ็บป่วย
การเป็นเบาหวาน
การได้รับยาระหว่างตั้งครรภ์
การคลอดของมารดา
2.การตรวจร่างกาย
ทารกที่เกิดจากมารดาเป็นเบาหวานจะมีลักษณะ ตัวใหญ่ อ้วน แก้มยุ้ย ผิวแดเข้ม ผมและขนดกดำ สายสะดือและรกใหญ่
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ การตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือด
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ทารกมีภาวะเสี่ยงจากอันตรายจากภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
เป้าหมายการพยาบาล
ทารกมีระดับน้ำตาลในลือดปกติ
ปลอดภัยจากอันตรายจากภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
เกณฑ์การปะเมินผล
1.ระดับน้ำตาลในเลือดปกติ
2.ไม่มีอาการซึม สะดุ้ง ผวา สั่น ชัก ดูดนมได้ปกติ สัญญาณชีพ ไม่เขียว
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลให้ทารกได้รับสารน้ำและอาการอย่างเหมาะสมเพียงพอตามสภาวะของทารก
ควบคุมอุณหภูมิห้องและดูแลให้ความอบอุ่นแก่ทารก
ติดตามผลการตรวจหาระดับน้ำตาลเป็นระยะ
ดูแลให้ทารกได้รับยาตามแผนการรักษาอย่างถูกต้อง
สังเกต บันทึก และรายงานการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพ และอาการอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ เช่น กระวนกระวาย (irritability) สั่น (tremors)
ดูแลให้ทารกได้พักผ่อนอย่างเต็มที่ ลดการใช้พลังงานของร่างกาย
ค่าปกติDTX ในเด็ก >60-120 mg/dL