Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Biochemistry of Hormones, หน้าที่, สารหลักที่ใช้สังเคราะห์ฮอร์โมน,…
Biochemistry of Hormones
Hormone
สารสื่อสัญญาณเคมี
หลั่งจากต่อมไร้ท่อหรือเนื้อเยื่อ >> กระแสเลือด
ตัวนำข่าวสารระหว่างเนื้อเยื่อ / อวัยวะเป้าหมายต่างชนิดกัน
ปริมาเพียงเล็กน้อยก็สามารถออกฤทธิ์ทำงานได้
ออกฤทธิ์กับเซลล์เป้าหมาย ผ่านตัวรับ (receptor) ที่จำเพาะกับชนิดของฮอร์โมน
ควบคุมการทำงานของเซลล์อื่นๆในร่างกาย
การจำแนกชนิดฮอร์โมน
1.จำแนกตามลักษณะทำงานหรือการออกฤทธิ์
1.1 ฮอร์โมนที่ออกฤทธิ์ต่อเซลล์เป้าหมายที่อยู่ห่างไกล
(endocrine action) >> ส่งไปตามกระแสโลหิต
1.2 ฮอร์โมนที่ออกฤทธิ์ต่อเซลล์ข้างเคียง
(paracrine action) >> เป็นเนื้อเยื่อชนิดเดียวกัน
1.3 ฮอร์โมนที่ออกฤทธิ์ต่อเซลล์ที่ผลิต
(autocrine action / intracrine action) >> มีผลต่อเซลล์ที่สร้างขึ้นมา
2.จำแนกตามสารชีวโมเลกุลหลักที่ใช้สังเคราะห์ฮอร์โมน
Protein / Lipid
2.1ฮอร์โมนที่เป็นอนุพันธ์ของกรดอะมิโน
(Amino acid derivative hormone)
Melatonin
Tryptophan
ต่อมไพเนียล
ควบคุมสีผิว
Thyroxine (T4)
Tyrosine
ต่อมไทรอยด์
ควบคุมอัตราการเผาผลาญสารอาหารในร่างกาย
Norepinephrine
Tyrosine
ต่อมหมวกไตชั้นใน
ควบคุมแมแทบอลิซึมคาร์โบไฮเดรตและระดับแคลเซียมในเซลล์
Triiodothyronine (T3)
Tyrosine
ต่อมไทรอยด์
ควบคุมอัตราการเผาผลาญสารอาหารในร่างกาย
Epinephrine
Tyrosine
ต่อมหมวกไตชั้นใน
ควบคุมแมแทบอลิซึมคาร์โบไฮเดรตและระดับแคลเซียมในเซลล์
ไฮเปอร์ไทรอยด์
-น้ำหนักลดลง
-ขี้ร้อน เหงื่ออกมาก เหนื่อย
-ประจำเดือนมาน้อยลง
-ความจำไม่ดี ขาดสติ
-ผมร่วง ท้องเสีย
-หัวใจเต้นผิดจังหวะ เต้นเร็ว
-มีบุตรยาก มืออุ่น / ชื้น สั่น
-ผิวเป็นด่างขาว
-ตาโปน แขนขาไม่มีแรง
-ต่อมไทรอยด์โต
ไฮโปไทรอยด์
-น้ำหนักเพิ่มขึ้น
-ขี้หนาว
-ง่วงนอน อ่อนเพลีย
-ผมร่วง ผิวแห้ง ความจำไม่ดี
-ซึมเศร้า
-เป็นตะคริวบ่อย
-หัวใจเต้นช้า
-ท้องผูก มีบุตรยาก
-รอบตาบวม หน้าบวม ตัวบวม
-ต่อมไทรอยด์โต
2.2เพปไทด์ / โปรตีน (Peptide hormone)
Vasopressin
Hypothalamus
ทำให้เกิดการดูดน้ำกลับเข้าท่อไต
Oxytocin
Hypothalamus
กระตุ้นการหดตัวของกล้ามเนื้อมดลูกและทำให้น้ำนมไหล
Prolactin
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า
ควบคุมการเจริญของต่อน้ำนม lactation
Human chorionic gonadotropin (hCG)
มดลูก
ควบคุมระดับฮอร์โมนอื่นในระยะตั้งครรภ์
Gastrin
ทางเดินอาหาร
กระตุ้นการหลั่งกรดเกลือ
Gonadotropin-releasing hormone (GnRH)
Hypothalamus
กระตุ้นการหลั่ง LH และ FSH จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า
Thyrotropin-releasing hormone (TRH)
Hypothalamus
กระตุ้นการหลั่ง thyrotropin จากต่อมสมอง
Adrenocorticotropic hormone (ACTH)
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า
ควบคุมขนาดและหน้าที่ของ adrenal cortex
Thyrotropin (TSH)
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า
ควบคุมขนาดและหน้าที่ของต่อมไทรอยด์
Growth hormone (GH)
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า
ควบคุมการเจริญเติบโตของอวัยวะต่างๆ และกระดูก
Secretin
ทางเดินอาหาร
กระตุ้นการหลั่งน้ำย่อยจากตับอ่อน
Calcitonin
ต่อมพาราไทรอยด์
ลดระดับแคลเซียมในเลือด
Cholecystokinin
ทางเดินอาหาร
ควบคุมการหดตัวของถุงน้ำดี
Follicle stimulating hormone
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า
กระตุ้นรังไข่ให้สร้างไข่และไข่สุก
Luteinizing hormone (LH)
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า
กระตุ้นอัณฑะและรังไข่
Parathyroid hormone (PTH)
ต่อมพาราไทรอยด์
เพิ่มระดับแคลเซียมในเลือดและการขับถ่ายฟอสเฟตที่ไต
Glucagon
ตับอ่อน (A cell)
ทำให้เกิดการสลายไกลโคเจนจากตับ
Insulin
ตับอ่อน (B cell)
ช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือด
Endorphine
สมอง
มีผลต่อการรับรู้ความเจ็บปวด
2.3สเตอรอยด์ฮอร์โมน (Steroid hormone)
Testosterone
อัณฑะ
ควบคุมลักษณะเพศชาย
Estradiol
รังไข่ / รก
ควบคุมลักษณะของเพศหญิง
Cortisol
เปลือกต่อมหมวกไต
ควบคุมการใช้คาร์โบไฮเดรต
Progesterone
รังไข่ / มดลูก
ควบคุมการเจริญและการตกไข่ในเพศหญิง
Aldosterone
เปลือกต่อมหมวกไต
ควบคุมการขับถ่ายเกลือแร่ที่ไต
2.4ฮอร์โมนที่เป็นสารกลุ่มอื่นๆ
กลุ่มที่มาจากสาร Eicosanoid ได้แก่ prostaglandin
กลุ่มที่เป็นอนุพันธ์ของวิตามิน ได้แก่ อนุพันธ์ของวิตามิน A,D
3.จำแนกตามตำแหน่งที่ออกฤทธิ์ที่เซลล์เป้าหมาย
ฮอร์โมนที่ไม่เข้าไปในเซลล์ แต่จะส่งสัญญาณทางสารสื่อสัญญาณทุติยภูมิ
ฮอร์โมนที่เป็นอนุพันธ์ของกรดอะมิโน เพปไทด์ โปรตีน
ยกเว้น ไทรอกซิน (thyroxine)
ฮอร์โมนที่เข้าไปในเซลล์
ฮอร์โมนกลุ่มสเตอรอยด์
Aldosterone
Cortisol
Testosterone
Estradiol
Progesterone
ฮอร์โมนกลุ่มอนุพันธ์ของวิตามิน
การสังเคราะห์ฮอร์โมน
การสังเคราะห์เพปไทด์ฮอร์โมน
transcription >> translation >> modification
Insulin ผลิตออกมาในรูป
Preproinsuin >> Proinsulin >> Insulin (ทำงานได้)
การสังเคราะห์สเตอรอยด์ฮอร์โมน
cytochrome P450 ใช้ NADPH เป็นปัจจัยร่วม (cofactor)
สเตอรอยด์ฮอร์โมนทุกตัว สร้างมาจาก Pregnenolone (สร้างจาก Cholesterol เกิดใน Mitochondria)
อาศัยการทำงานของเอนไซม์กลุ่ม cytochrome P450
หน้าที่ของฮอร์โมน
2.การรักษาภาวะธำรงดุล
Thyroid hormone : ควบคุมเมแทบอลิซึมพื้นฐานของร่างกาย 25%
Cortisol : มีผลต่อฮอร์โมนหลายชนิด
PTH : ควบคุมระดับแคลเซียมและฟอสเฟต
Insulin : รักษาระดับน้ำตาลให้อยู่เกณฑ์ปกติ
3.การสืบพันธุ์
การพัฒนาการเจริญพันธุ์ในช่วงวัยรุ่น
การเตรียมพร้อมร่างกายขณะตั้งครรภ์และให้นม
การกำหนดเพศในระหว่างที่อยู่ในครรภ์
1.การเจริญเติบโต
รูปร่างเตี้ย แคระ : ขาด GH,Hypothyroidism
การออกฤทธิ์ของฮอร์โมน
1.ตัวรับที่อยู่บนผิวเซลล์
1.2 Thyrosine kinase receptor ได้แก่ Insulin
1.3 Cytokines receptor ได้แก่ GH,Prolactin
1.1 G protein-couple receptor ได้แก่ Prostaglandins,ACTH,Glucagon,PTH,TSH,LH
2.ตัวรับที่อยู่ในเซลล์
2.1Steroid receptor
2.2 Thyroid receptor
การคัดหลั่งและขนส่งฮอร์โมน
การคัดหลั่งฮอร์โมน
ระดับฮอร์โมนในเลือดขึ้นกับอัตราการหลั่งและค่าครึ่งชีวิตของฮอร์โมน
เพปไทด์ / โปรตีนฮอร์โมน เช่น GnRH,Insulin,GH >> เก็บใน secretory granule แล้วอาศัยสัญญาณมากรถคุ้น >> ปลดปล่อยออกนอกเซลล์
สเตอรอยด์ฮอร์โมน >> ขับออกนอกเซลล์ได้ทันทีที่สร้างเสร็จ
การขนส่งฮอร์โมน
เพปไทด์ฮอร์โมน
ขนส่งในรูปอิสระ
สเตอรอยด์ฮอร์โมน
ขนส่งไปกับโปรตีนที่อยู่ใน plasma เช่น Globolin,Albumin
ค่าครึ่งชีวิตของฮอร์โมน : สำคัญในการรักษาผู้ป่วยโดยใช้ฮอร์โมน
เพปไทด์ฮอร์โมน เช่น ACTH,GH,PTH,LH
ค่าครึ่งชีวิตสั้น
ค่าครึ่งชีวิต < 20 นาที = ต้องเจาะเลือดทุก 10 นาที เป็นเวลา 8-24 ชั่วโมง
มีประโยชน์ต่อการติดตามการรักษาโรค
**PTH จะลดลงในผู้ป่วยที่ตัดก้อนมะเร็ง
ฮอร์โมนที่เป็นอนุพันธ์ของกรดอะมิโน
Thyroxine ,T4
ค่าครึ่งชีวิต 7 วัน
ใช้เวลา 1 เดือน เพื่อทำให้ระดับฮอร์โมนอยู่ในเกณฑ์คงที่
Triiodothyronine,T3
ค่าครึ่งชีวิต 1 วัน
ต้องให้ฮอร์โมนแก่ผู้ป่วย 2-3 ครั้งต่อวัน
สเตอรอยด์ฮอร์โมน
ค่าครึ่งชีวิตยาว เพราะมีการจับกับโปรตีน
หน้าที่
สารหลักที่ใช้สังเคราะห์ฮอร์โมน
กรดอะมิโนเริ่มต้น
กรดอะมิโนเริ่มต้น
กรดอะมิโนเริ่มต้น
กรดอะมิโนเริ่มต้น
กรดอะมิโนเริ่มต้น
อวัยวะที่สังเคราะห์
อวัยวะที่สังเคราะห์
อวัยวะที่สังเคราะห์
อวัยวะที่สังเคราะห์
อวัยวะที่สังเคราะห์
หน้าที่
หน้าที่
หน้าที่
หน้าที่
หน้าที่
อาการ
อาการ
อวัยวะที่สังเคราะห์
อวัยวะที่สังเคราะห์
อวัยวะที่สังเคราะห์
อวัยวะที่สังเคราะห์
อวัยวะที่สังเคราะห์
อวัยวะที่สังเคราะห์
อวัยวะที่สังเคราะห์
อวัยวะที่สังเคราะห์
อวัยวะที่สังเคราะห์
อวัยวะที่สังเคราะห์
อวัยวะที่สังเคราะห์
อวัยวะที่สังเคราะห์
อวัยวะที่สังเคราะห์
อวัยวะที่สังเคราะห์
อวัยวะที่สังเคราะห์
อวัยวะที่สังเคราะห์
อวัยวะที่สังเคราะห์
อวัยวะที่สังเคราะห์
อวัยวะที่สังเคราะห์
หน้าที่
หน้าที่
หน้าที่
หน้าที่
หน้าที่
หน้าที่
หน้าที่
หน้าที่
หน้าที่
หน้าที่
หน้าที่
หน้าที่
หน้าที่
หน้าที่
หน้าที่
หน้าที่
หน้าที่
หน้าที่
หน้าที่
อวัยวะที่สังเคราะห์
อวัยวะที่สังเคราะห์
อวัยวะที่สังเคราะห์
อวัยวะที่สังเคราะห์
อวัยวะที่สังเคราะห์
หน้าที่
หน้าที่
หน้าที่
หน้าที่
หน้าที่