Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิวัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการบริหาร, นางสาวปาริชาติ เศษลือ รหัส 62110123 …
วิวัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการบริหาร
ทฤษฎีการบริหารยุคคลาสสิก (Classical organizational theory)
หลักการจัดการตามหลักการบริหาร (Administrative Management)
การแบ่งงานกันทำ
(division of work)
การให้อำนาจ
(authority)
ความมีวินัย (discipline
4.เอกภาพในการบังคับบัญชา(unity of command)
5.หลักการมีทิศทางเดียวกัน(unity of direction)
6.การถือประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนบุคคล(subordination ofindividual interest togeneral interest)
การจ่ายค่าตอบแทน(remuneration)
การรวมอำนาจ
(centralization)
สายการบังคับบัญชา
(scalar chain)
ความมีระเบียบ
(order)
ความเท่าเทียมกัน (equity)
12.ความมั่นคงของบุคลากร
(stability of personnel)
13.ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
(initiative)
หลักความสามัคคี
(esprit de corps)
หลักการจัดการตามระบบราชการ (Bureaucracy management)
1) การแบ่งงานกันทำ (division of work) ตามความรู้ ความชำนาญ (specialization)
2) การจัดตำแหน่งตามสายบังคับบัญชา (scalar chain) จากระดับสูงมายังระดับรอง
3) การกำหนดกฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบังคับ และขั้นตอนการปฏิบัติงาน
4) บุคคลทำหน้าที่ที่กำหนดไว้อย่างเป็นทางการโดยไม่ยึดความเป็นส่วนตัว
5) การจ้างงานใช้หลักคุณสมบัติทางวิชาชีพ (professional qualities)
6 มีความก้าวหน้าในอาชีพ (career aspects)
7) มีอำนาจตามกฎหมาย (legal authority)
หลักการบริหารตามหลักวิทยาศาสตร์ (Scientific Management)
1) Scientific Job Analysis คือการวิเคราะห์งานตามหลักวิทยาศาสตร์ โดยผ่านการสังเกต
การรวบรวมข้อมูลและการวัดอย่างรอบคอบ
2) Selection of Personnel คือการคัดเลือกบุคลากรที่เหมาะสมกับงานแต่ละง
3) Management Cooperation คือการสร้างความร่วมมือระหว่างผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน
เพื่อให้แน่ใจว่างานที่ทำอยู่นั้นเป็นไปตามหลักการทางวิทยาศาสตร์
4) Functional Supervising คือการกำกับดูแลการทำงาน โดยผู้บริหารทำหน้าที่วางแผน(planning) จัดองค์การ (organizing) และตัดสินใจ (decision-making)
ในขณะที่ผู้ปฏิบัติงานปฏิบัติหน้าที่ของตน
ทฤษฎีการบริหารเชิงพฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral Theory)
ทฤษฎีแรงจูงใจของมาสโลว์ (Maslow's Motivation Theory)
1) มนุษย์มีความต้องการไม่สิ้นสุด
2 มนุษย์พยายามหาวิธีการต่างๆ ที่จะทำให้ตนเองได้รับในสิ่งที่ตนเองต้องการ
3) ลำดับขั้นความต้องการของมนุษย์มี 5 ลำดับขั้น
ทฤษฎีสองปัจจัย (Two-Factor Theory)
1) ปัจจัยจูงใจ (motivation factors)
2) ปัจจัยอนามัย (hygiene factors)
ทฤษฎีการบริหารตามแนวมนุษยสัมพันธ์ (Human Relations)
การศึกษาHawthorne (The Hawthorne Studies)
ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงของลีวิน
1) ระยะการละลายพฤติกรรม (Unfreezing) เป็นระยะเริ่มแรกที่บุคคลรับรู้ว่าจะมีการเปลี่ยนแปลง
2) ระยะการการเปลี่ยนแปลง (Changing)
เป็นระยะที่บุคคลเข้าใจความจำเป็นที่ต้องมีการเปลี่ยนแปลง
3) ระยะรักษาดุลยภาพการเปลี่ยนแปลง (Refreezing)
เป็นระยะที่บุคคลเริ่มเรียนรู้เกี่ยวกับแนวทางปฏิบัติที่ปรับเปลี่ยนหรือเปลี่ยนแปลง
ทฤษฎีการบริหารยุคการจัดการร่วมสมัย (Contemporary Management Era)
ทฤษฎีระบu (System Theory)
1) สิ่งนำเข้า (input)
2) กระบวนการจัดการ (process)
3) ผลผลิตหรือผลลัพธ์ (output
4) ข้อมูลย้อนกลับหรือการป้อนกลับของข้อมูล (feedback)
ทฤษฎีการบริหารเชิงสถานการณ์ (Contingency Theory)
1) การบริหารจะดีหรือไม่ขึ้นอยู่กับสถานการณ์
2) ผู้บริหารจะต้องสามารถวิเคราะห์สถานการณ์ให้ดีที่สุด
3) สถานการณ์จะเป็นตัวกำหนดการตัดสินใจและรูปแบบการบริหารที่เหมาะสม
4) เป็นการผสมผสานแนวคิดระหว่างระบบปิดและระบบเปิด
5) คำนึงถึงสิ่งแวดล้อมและความต้องการของบุคคลในหน่วยงานเป็นหลักมากกว่าที่จะแสวงหาวิธีการอัน
ดีเลิศมาใช้ในการทำงาน
นางสาวปาริชาติ เศษลือ รหัส 62110123