Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Biochemistry of hormone - Coggle Diagram
Biochemistry of hormone
การจำแนกชนิดของฮอร์โมน
การจำแนกตามลักษณะการทำงานหรือการออกฤทธิ์
ฮอร์โมนที่ออกฤทธิ์
ต่อเซลล์เป้าหมายที่อยู่ห่างไกล
endocrine action ส่งไปตามกระแสโลหิต
ฮอร์โมนที่ออกฤทธิ์
ต่อเซลล์ข้างเคียง
paracrine action เป็นเนื้อเยื่อชนิดเดียวกัน
ฮอร์โมนที่ออกฤทธิ์
ต่อเซลล์ที่ผลิต
autocrine action/ intracrine action มีผลต่อเซลล์ที่สร้างขึ้นมา
การจำแนกสารตามสารชีวโมเลกุล
หลักที่ใช้สังเคราะห์ฮอร์โมน
Protein/Lipid สารโมเลกุลหลัก
ที่ใช้ในการสังเคราะห์ฮอร์โมน
ฮอร์โมนที่เป็นกลุ่มอนุพันธ์ของกรดอะมิโน (Amino acid derivative hormone
เพปไทด์/โปรตีน (Peptide hormone)
สเตอรอยด์ฮอร์โมน (Steroid hormone)
ฮอร์โมนที่เป็นสารกลุ่มอื่นๆ
กลุ่มที่มาจากสาร Eicosanoid ได้แก่ prostaglandin
กลุ่มที่เป็นอนุพันธ์ของวิตามิน ได้แก่ อนุพันธ์ของวิตามิน A,D
การจำแนกตามตำแหน่ง
ที่ออกฤทธิ์ที่เซลล์เป้าหมาย
ฮอร์โมนที่ไม่เข้าไปในเซลล์
แต่จะส่งสัญญาณทางการสื่อสัญญาณทุติยภูมิ
ฮอร์โมนที่เป็นอนุพันธ์ของกรดอะมิโน เพปไทด์ และโปรตีน
ยกเว้น ไทรอกซิน (thyroxine)
ฮอร์โมนที่เข้าไปในเซลล์
ฮอร์โมนกลุ่มสเตอรอยด์ ได้แก่ Aldosterone, Cortisol,
Testosterone, Estradiol, Progesterone
ฮอร์โมนกลุ่มอนุพันธ์ของวิตามิน
การสังเคราะห์ฮอร์โมน
การสังเคราะห์เพปไทด์ฮอร์โมน
transcription>>translation>>modification
Insulin ผลิตออกมาในรูป Preproinsuin>>Proinsulin>>Insulin
(ทำงานได้)
การสังเคราะห์สเตอรอยด์ฮอร์โมน: เกิดขึ้นที่ ER
อาศัยการทำงานของเอนไซม์กลุ่ม cytochrome P450
cytochrome P450 ใช้ NADPH เป็นปัจจัยร่วม (cofactor)
สเตอรอยด์ฮอร์โมนทุกตัว สร้างมาจาก Pregnenolone (สร้างจาก Cholesterol เกิดใน Mitochondria)
การคัดหลั่งและการขนส่งฮอร์โมน
การคัดหลั่งฮอร์โมน
ระดับฮอร์โมนในเลือดขึ้นกับ อัตราหลั่งและค่าครึ่งชีวิตของฮอร์โมน
เพปไทด์/โปรตีนฮอร์โมน เช่น GnRH, Insulin, GH>> เก็บใน
secretory granule แล้วอาศัยสัญญาณมากระตุ้น >> ปลดปล่อยจากนอกเซลล์
สเตอรอยด์ฮอร์โมน>>ขับออกนอกเซลล์ได้ทันทีที่สร้างเสร็จ
การขนส่งฮอร์โมน
เพปไทด์ฮอร์โมน: ขนส่งในรูปอิสระ
สเตอรอยด์ฮอร์โมน: ขนส่งไปกับโปรตีนที่อยู่ใน plasma เช่น Globulin, Albumin
ค่าครึ่งชีวิตของฮอรืโมน: สำคัญในการรักษาผู้ป่วย
โดยการใช้ฮอร์โมน
คำนวณขนาด+ความถี่ ที่จะให้ผู้ป่วย เพื่อรักษาระดับฮอร์โมนให้คงที่
เพปไทด์ฮอร์โมน
เช่น ACTH, GH, PTH, LH
ค่าครึ่งชีวิตสั้น
มีประโยชน์ต่อการติดตามการรักษาโรค
=ค่าครึ่งชีวิต<20นาที= ต้องเจาะเลือดทุก 10 นาทีเป็นเวลา 8-24 ชั่วโมง (ในทางปฏิบัติเป็นไปได้ยาก และไม่เหมาะสมในทางคลินิก
** PTH จะลดลงในผู้ป่วยที่ตัดก้อนมะเร็ง ช่วยยืนยันว่าก้อนมะเร็งถูกตัดออกจริง
สเตอรอยด์ฮอร์โมน: มีค่าครึ่งชีวิตยาว เพราะมีการจับกับโปรตีน
ฮอร์โมนที่เป็นอนุพันธ์ของกรดอะมิโน
Thyroxine, T4 = ค่าครึ่งชีวิต 7 วัน >> ใช้เวลา 1 เดือน เพื่อทำให้ระดับฮอร์โมนอยู่ในเกณฑ์คงที่ (ให้ครั้งเดียวก็เพียงพอ)
Triiodothyronine, T3 = ค่าครึ่งชีวิต 1 วัน >> ต้องให้ฮอร์โมนแก่ผู้ป่วย
2-3 ครั้งต่อวัน
หน้าที่ของฮอร์โมน
การเจริญเติบโต: ฮอร์โมนและภาวะโภชนาการ
เป็นปัจจัยหลักในการเจริญเติบโตของร่างกาย
รูปร่างเตี้ย แคระ : ขาด GH, Hypothyroidism
การรักษาภาวะธำรงดุล: ฮอร์โมนทุกตัว
มีผลต่อความสมดุลของร่างกาย
Thyroid hormone : ควบคุมเมแทบอลิซึมพื้นฐานของร่างกาย 25%
Cortisol : มีผลต่อฮอร์โมนหลายชนิด
PTH : ควบคุมระดับแคลเซียมและฟอสเฟต
Insulin : รักษาระดับน้ำตาลให็อยู่ในเกณฑ์ปกติ
การสืบพันธุ์: เกี่ยวข้องทุก
ขั้นตอนในการสืบพันธุ์
การกำหนดเพศในระหว่างที่อยู่ในครรภ์
การพัฒนาการเจริญพันธุ์ในช่วงวัยรุ่น
การเตรียมพร้อมร่างกายขณะตั้งครรภ์และการให้นม
การออกฤทธิ์ของฮอร์โมน
ตัวรับที่อยู่บนผิวเซลล์(cell surface receptor)
G protein-couple receptor ได้แก่
Prostaglandins, ACTH, Glucagon, PTH, TSH, LH
Tyrosine kinase reseptor ได้แก่ Insulin
Cytokine receptor ได้แก่ GH, Prolactin
ตัวรับที่อยู่ในเซลล์ (Nuclear receptor)
Steroid receptor
Thyroid receptor
อาการเมื่อขาดฮอร์แต่ละชนิด
ฮอร์โมนเพศชาย
(เทสโทสเทอโรน)
สมรรถภาพทางเพศลดลง, ความแข็งแรงกล้ามเนื้อลดลง,
การตัดสินใจช้าลง
ไทรอยด์
น้ำหนักตัวเพิ่ม, ท้องผูกบ่อยๆ, รู้สึกอ่อนเพลียง่าย
ดีเอชอีเอ
อ่อนเพลีย, ซึมเศร้า, เผาผลานลดลง อ้วนง่าย
มาลาโตนิน
นอนไม่หลับ, หลับไม่ลึก, ตื่นไม่สดชื่น
ฮอร์โมนเพศหญิง
(เอสโตรเจนและโปรเจสเตอโรน)
ร้อนวูบวาบ เหงื่ออก,
ความจำแย่ อารมณ์ฉุนเฉียว,
กระดูกบาง ผิวเหี่ยว
โกรว์ธฮอร์โมน
ผิวเหี่ยวย่น ผมบาง,
ภูมิคุ้มกันแย่ลง, ไม่กระฉับกระเฉง