Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลผู้ป่วยที่มีความหลากหลาย ทางวัฒนธรรมของชาวญี่ปุ่น - Coggle Diagram
การดูแลผู้ป่วยที่มีความหลากหลาย
ทางวัฒนธรรมของชาวญี่ปุ่น
ความเชื่อของคนญี่ปุ่น
ห้ามตัดเล็บตอนกลางคืน
คนญี่ปุ่นมีความเชื่อว่าวิญญาณชั่วร้าย หรือ อะคุเรียว
จะออกมาเพ่นพ่านในเวลากลางคืน
เชื่อว่าอุปกรณ์ที่ใช้ตัดเล็บในเวลานั้นมีพลังวิญญาณที่เรียกว่า เรเรียวกุ
ในภาษาญี่ปุ่น ที่สามารถดึงดูดให้วิญญาณเข้ามาหาได้
เวลารถขนศพวิ่งผ่านให้รีบเก็บนิ้วโป้ง
เชื่อว่ารถขนศพจะมีวิญญาณของผู้ตายตามติดอยู่กับโลงศพ
ถ้าไม่รีบเก็บนิ้วโป้งเวลาเห็นรถขนศพวิ่งผ่านจะเปิดโอกาส
ให้วิญญาณผ่านเล็บนิ้วโป้งเข้ามาในร่างของเรา
ห้ามผิวปากตอนกลางคืน
เชื่อว่าถ้าใครผิวปากตอนกลางคืนจะเป็นการดึงดูดให้โจรขึ้นบ้าน
ตัวเลข
เลข 4
เพราะสี่ หรือ ชิในภาษาญี่ปุ่นไปพ้องเสียงกับ
คำว่า ที่แปลว่าความตาย
เลข 9
เพราะเก้า หรือ คุ พ้องเสียงกับคำว่า คุ
ที่แปลว่าความเจ็บปวดทรมาน
คนญี่ปุ่นจึงมอบของขวัญให้กันเป็นจำนวน 3 หรือ 5 ชิ้น
แทนการให้ 4 ชิ้นหรือ 9 ชิ้น
อย่านอนหันหัวไปทางทิศเหนือ
ญี่ปุ่นศพจะถูกจัดให้หันหัวไปทางทิศเหนือ จึงเชื่อว่าการนอนหันหัว
ทางทิศเหนือจะทำให้โชคร้าย
การเลือกอาหารมงคล
โมจิ (mochi)
เสียงอ่านคำว่า “โมจิ” หมายถึง “มี” หรือ “มั่งมี”
ถือว่าเป็นมงคลต่อผู้รับประทาน
กุ้งใหญ่
ในงานมงคลสมรส งานฉลองวันเกิด และในงานมงคลอื่นๆ
คนญี่ปุ่นเชื่อว่าหมายถึง “การมีอายุยืน”
ความเชื่อเรื่องปีชงของคนญี่ปุ่น
ปีชงของผู้ชาย
อยู่ที่ช่วงอายุ 4 ปี 13 ปี 25 ปี 42 ปี 61 ปี
ต้องระวังตัวเป็นพิเศษในช่วงอายุ 42 ปี
เชื่อว่าจะเกิดภัยพิบัติและความโชคร้ายขึ้นได้ง่าย
ควรจะระวังตัวตั้งแต่ปีก่อนหน้าปีชง
ปีชงของผู้หญิง
อยู่ที่ช่วงอายุ 4 ปี 13 ปี 19 ปี 33 ปี 37 ปี 61 ปี
ต้องระวังเป็นพิเศษในช่วงอายุ 33 ปี
เชื่อว่าผู้หญิงเมื่อเริ่มเข้าสู่วัย 30 เป็นช่วงที่ควรต้องระวังตัวเป็นพิเศษ
เมื่อนับรวมปีก่อนและปีหลังปีชง
เชื่อว่าในปีที่เป็นปีชง จะมีเรื่องร้าย ๆ เกิดขึ้นได้ง่าย
ควรจะดำเนินชีวิตอย่างมีสติและรอบคอบกว่าปีปกติ
บทบาทการพยาบาลในผู้สูงอายุ
เน้นการให้ผู้ป่วยดำรงชีวิตได้อย่างปกติ
ดำรงสุขภาพที่ดีทั้งด้านร่างกาย และด้านจิตใจ
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยช่วยเหลือตนเองให้มากที่สุด
ป้องกันการเจ็บป่วยเรื้อรัง และภาวะแทรกซ้อน
ฟื้นฟูสุขภาพให้กลับสู่สภาพปกต
เน้นการเอื้ออาทรผู้สูงอายุ
ให้เกียรติและเคารพในความอาวุโส
ส่งเสริมสิทธิของผู้สูงอาย
ส่งเสริมความสามารถในการดูแลและความปลอดภัยของผู้สูงอาย
อำนวยความสะดวก
ช่วยเหลือในการดูแลการอาบน้ำ การรับประทานอาหาร
ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้
เปลี่ยนท่านอนของผู้ป่วยทุกๆ 2 ชั่วโมง
การขับถ่าย ดูแลเรื่องความสะอาดและความเปียกชื้น
อาหารควรเป็นอาหารที่ย่อยง่าย ลดภาวะท้องอืดและท้องผูก
ทำกายภาพบำบัดของผู้สูงอายุที่ต้องนอนติดเตียง
ให้ถูกต้องเหมาะสม เพื่อป้องกันไม่ให้ข้อต่อต่างๆ ติดขัด
ส่งเสริมการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
การเสริมสุขผู้สูงอายุด้วยการสร้างสุข 5 มิติ
สุขสบาย (Happy Health)
ดูแลสุขภาพให้แข็งแรง คล่องแคล่ว ชะลอความเสื่อมและ
คงสมรรถภาพทางกายให้นานที่สุด
สุขสนุก (Recreation)
มีสัมพันธภาพที่ดีกับเพื่อน พูดคุยกับคนในครอบครัว
ทำกิจกรรมที่ทำให้จิตใจแจ่มใส
สุขสง่า (Integrity)
สร้างความภาคภูมิใจในตนเอง มีคุณค่า
สุขสว่าง (Cognition)
เป็นความสามารถของสมองทั้งด้านความจำ ความคิดอย่างมีเหตุผล
โดยอย่าหยุดยั้งที่จะเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ
สุขสงบ (Peacefulness)
สามารถเข้าใจและจัดการอารมณ์
เพื่อให้เกิดความสงบทางใจ ผ่านกิจกรรมต่างๆ
มารยาทของคนญี่ปุ่น
ปฏิสัมพันธ์คนรอบข้าง
ส่วนใหญ่จะทักทายกันด้วยการจับมือหรือโค้งคำนับ
ถ้าเป็นคนที่มีอายุมากกว่าเราหรือคนที่เราไม่สนิท
เราจะมีการโค้งคำนับแถนที่จะจับมือ
มีการกล่าวคำทักทายว่า “Sumimasen” (ซูมิมาเซ็ง)
หมายถึง “ขออภัย” ใช้ในความหมายว่า “ขออนุญาต”
การถอดรองเท้า
เวลาจะเขาไปบ้านพักของใครเราจะต้องถอดรองเท้า
ไว้ข้างหน้าและวางให้เป็นระเบียบเรียบร้อย
กล่าวคำว่า “ojamashimasu” (โอจะมะชิมัส)
การรับประทานอาหาร
เมื่อจะมีการรับประทานจะพูดว่า “itadakimasu” (อิตะดะชิมัส)
ซึ่งแปลว่า “ ฉันดีใจกับอหารมื้อนี้ ”
เมื่อรับประทานอาหารเสร็จจะพูดว่า “gochisosama desu”
(โกชิโซะซะมะ เดส) แปลว่า “ขอบคุณสำหรับอาหาร”
ถ้ากินข้าวไม่หมดคนญี่ปุ่นจะไม่คิดว่าเป็นการเสียมารยาท
การห่อกลับบ้านคือสิ่งที่ไม่ควรทำเพราะไม่เหมาะสม
มารยาทในการที่ไม่ถามจุกจิก
เมื่อเรามีคำถามถามเขาเราไม่ควรที่จะไปกดดันเขา
เมื่อเขาไม่เข้าใจคำถามเรา เราควรกล่าวขอบคุณ แล้วไปถามคนอื่นแทน