Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่6 กระบวนการพยาบาลในการให้การพยาบาลอย่างองค์รวมแก่บุคคลที่มีปัญหาสุขภา…
บทที่6 กระบวนการพยาบาลในการให้การพยาบาลอย่างองค์รวมแก่บุคคลที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
6.2 การพยาบาลผู้ที่มีความผิดปกติทางพฤติกรรม
ความก้าวร้าว (Aggression) ความไม่เป็นมิตร(Hostility) และ ความรรุนแรง (Violence)
ลักษณะพฤติกรรมของผู้ป่วยที่บ่งบอกว่าอาจแสดงอาการก้าวร้าวรุนแรง
มีการเคลื่อนไหว เดินไปเดินมาตลอด
มีท่าทางหวาดกลัว
ใช้คำพูดรุนแรง ส่งเสียงดัง มีความกลัว
พูดเร็ว ไม่ปะติดปะต่อ
แสดงอารมณ์หงุดหงิด รำคาญ ขาดความอดทน
สูญเสียการตัดสินใจ
ไม่สนใจในเรื่องของตนเอง
แสดงท่าทางหยาบโลน
ทุบ ทำลายสิ่งของ
ซึมเศร้า ทำร้ายตนเอง
ชกต่อย ทุบตี ใช้อาวุธทำร้ายผู้อื่น
กระบวนการพยาบาลผู้ป่วยที่มีความก้าวร้าว ความไม่เป็นมิตร และความรุนแรง
การประเมิน
การประเมินความเสี่ยงของผู้ป่วยที่อาจเกิดพฤตกรรมก้าวร้าว
ผู้ป่วยแสดงความก้าวร้าวบ่อย
ผู้ป่วยที่มีพฤติกรรมอยู่ไม่นิ่ง
ผู้ป่วยที่มีประวัติไม่สามารถควบคุมความโกรธ
ผู้ป่วยที่มีความคิดหวาดระแวงจากอาการของโรคจิต
ความสามารถเมื่ออยู่ในสถานการณ์ ขัดแย้ง
ประวัติการมีพฤติกรรมรุนแรงเป็นปัจจัยทำนายที่ดีที่สุดของ การเกิดความรุนแรงในอนาคต
การปฏิบัติการพยาบาล
นำสิ่งต่างๆ ที่อาจเป็นอันตรายหรือผู้ป่วยอาจใช้อาวุธไป ไว้ไกลจากผู้ป่วย
ลดระดับสิ่งเร้าไม่ให้อึกทึก ครึกโครม
สร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด โดยเข้าไปพูดคุยกับผู้ป่วย ด้วยน้ำเสียงที่หนักแน่นและมีเมตตาให้เกียรติ
ควรจัดกิจกรรมให้ผู้ป่วยได้ระบายความก้าวร้าวไปในทางที่ เหมาะสม
ประเมินสภาพอารมณ์และสังเกตพฤติกรรมของผู้ ป่วยอย่างสม่ำเสมอ
ผู้ป่วยมีพฤติกรรมก้าวร้าวพยาบาลควรสงบควบคุมตัวเองให้ ได้
บุคลากรภายในหอผู้ป่วยควรมีการเตรียมความพร้อมในการ ยับยั้งความรุนแรงของผู้ป่วย
สาเหตุของความก้าวร้าว
กลุ่มอาการทางสมอง
ที่ได้รับอันตรายต่อศรีษะ
กลุ่มอาการทางสมองเรื้อรัง เช่นผู้สูงอายุที่เป็นโรคสมองเสื่อม
โรคลมชักผู้ป่วยยังสับสนอาการอาจเป็นอยู่นานเป็นชั่วโมงหรือหลายวันอาจถึง 7 วัน
สมองมีแผลจากโรคที่เป็น
อาการ intoxication เช่น เฮโรอีน สุรา หรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
อาจมีภาวะทางกายบางอย่างทำให้ผู้ป่วยกระวนกระวายโมโหง่าย
กลุ่มอาการทางจิต
ผู้ป่วยที่มีอาการทางจิต ผู้ป่วยมีอาการกลัวหวาดระแวง หูแว่ว ประสาทหลอน
ผู้ป่วยโรคจิตอารมณ์แปรปรวน (Affective disorders) มีลักษณะคลุ้มคลั้ง พูดมาก พพูดเร็ว เคลื่อนไหวตลดเวลา
ผู้ป่วยโรคบุคลิกภาพแปรปรวน ผู็ป่วยไม่สามารถจะอยู่ในเกณฑ์ของสังคมได้ พฤติกรรมแบบหุนหันพลันแล่น ตัดสินนใจไม่ถูกต้อง
การฆ่าตัวตาย
สาเหตุ
ปัจจัยด้านจิตใจ
การหารความรู้สึกโกรธเข้าหาตนเอง
ความรู้สึกหมดหวัง
รู้สึกสูญเสียบุคคลสำคัญหรือสิ่งของที่รัก
ความรู้สึกสิ้นหวังและความรู้สึกผิด
ความรู้สึกตายและความรู้สึกละอายใจ
ปัจจัยด้านสังคม
สภาพที่บุคคลในสังคมมีความผูกพันกันน้อยลง มีครอบครัวเดียว ครอบครัวแตกแยก
ความรู้สึกว่าไม่มีความผูกพันกับสังคม ไม่สามารถเข้ากับสังคมได้
สภาพเศรษฐกิจ คนส่วนใหญ่มีความยากลำบากทางการเงิน
การสูญเสียสถานภาพของตนในสังคม
การถูกบังคับให้อยู่ในกฎเกณฑ์มากเกินไปหรือไม่มีอิสรภาพส่วนตัว
ปัจจัยด้านชีวภาพ
มีความแปรปรวนของสารสื่อประสาทมีแนวโน้มที่จะมีอารมณ์เศร้าและฆ่าตัวตาย
การเจ็บป่วยทางด้านร่างกายและจิตใจ
ปัจจัยเสี่ยง
เพศหญิงจะมีความพยายามในการฆ่าตัวตายมากกว่าผู้ชาย
คนโสดมีความเสี่ยงสูงมากกว่าคนแต่งงาน
คุณยาล้างความเสี่ยงสูงมากกว่าคนมีคู่ครอง
คนฉลาดไม่มีคนดูแลขาดการเอาใจใส่จากญาติ
ผู้ป่วยพิษสุราเรื้อรังและใช้สารเสพติด
เคยมีประวัติการฆ่าตัวตายมาก่อน ทั้งกับตัวเองหรือในหมู่ญาติ :
การรักษา
การรักษาทางจิตเวช
ผู้ป่วยพยายามฆ่าตัวตายทุกหลายคนได้พบจิตแพทย์ก่อน
กลับบ้านเพื่อประเมินความเสี่ยง
รับฟังผู้ป่วยให้โอกาสผู้ป่วยได้ระบายความรู้สึก
ป้องกันการฆ่าตัวตายซ้ำ ต้องให้มีคนดูแลผู้ป่วยใกล้ชิดตลอดเวลา
ร่วมกับผู้ป่วยในการพิจารณาถึงพฤติกรรมการฆ่าตัวตายที่ผ่านมา
รักษาผลของพฤติกรรมการฆ่าตัวตายก่อน เช่น ถ้ากินยาตายก็ให้การล้างท้องให้ยาแก้พิษ
หากพบว่าผู้ป่วยมีโรคทางจิตเวชอยู่ต้องให้การรักษาโดยเร็ว
แบ่งได้ 5 ประเภท
การคิดฆ่าตัวตาย
มีความคิดต่างๆที่คิดว่าตนเองไม่ควรมีชีวิตอยู่
การแสร้งกระทำการฆ่าตัวตาย
การทำร้ายตนเองแต่ไม่ได้รับบาดเจ็บหรือได้รับบาดเจ็บเล็กน้อย
การพยายามฆ่าตัวตาย
การกระทำอย่างตั้งใจด้วยวิธีต่างๆ
การขู่จะฆ่าตัวตาย
การพูดหรือการเขียนเกี่ยวกับการตั้งใจจะฆ่าตัวตายแต่ไม่มีการกระทำจริง
การฆ่าตัวตายสำเร็จ
เป็นการกระทำที่มีความตั้งใจที่จะจบชีวิตของตนเองและทำได้สำเร็จ
การพยาบาล
สังเกตพฤติกรรมและคำพูดของผู้ป่วยอย่างรอบคอบ
ค้นหาว่าอะไรที่ยังเป็นความหวังของผู้ป่วย เช่น อยู่เพื่อมารดา
อยู่ใกล้ชิดผู้ป่วยและป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับผู้ป่วย
จัดให้เข้ากลุ่มกิจกรรมบำบัด ไม่อยากให้อยู่คนเดียว เลือกกิจกรรมง่ายง่าย
กระตุ้นให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึกไม่สบายใจ และสิ่งที่เป็นปัญหา
ให้บุคคลใกล้ชิดหรือบุคคลที่มีความสำคัญกับผู้ป่วยมาเยี่ยมให้กำลังใจ
เฝ้าระวังการฆ่าตัวตาย/การทำร้ายตัวเอง
9.วางแผนร่วมกับผู้ป่วยและญาติในการป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับผู้ป่วย
ประเมินโอกาสเสี่ยงของการทำร้ายตนเองและวางแผนป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยฆ่าตัวตาย
พฤติกรรม เป็นปฏิกิริยาของสิ่งมีชีวิตที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าทั้งภายในและภายนอกของ ร่างกายซึ่งอาจแสดงออกมาโดยตั้งใจหรือไม่ตั้งใจ
6.1 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติทางด้านอารมณ์
จำแนกโรคที่เกิดจากความผิดปกติทางด้านอารมณ์
กลุ่มโรคอารมณ์สองขั้ว(Bipolar disorder)
ทางด้านอารมณ์
รู้สึกมีความสุขมาก มีอารมณ์ครึกครื้น รื่นเริง สนุกสนานเกินความเป็นจริง
ทางด้านความคิด
มีความบคิดสร้างสรรค์มากมาย ความคิดเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว
ทางด้านร่างกาย
ไม่รู้สึกง่วงนอนหรือนอนไม่หลับแม้จะพักผ่อนเพียง 2-3 ชั่วโมงก็รู้สึกว่าเพียงพอ
ทางด้านพฤติกรรม
ผู้ป่วยจะนอนลับเพียง 2-3 ชั่วโมงต่อคืน รู้สึกเพียงพอ ตื่นมาก็รู้สึกกระปรี้กระเปร่าพูดมากกว่าปกติ เสียงดัง
โรค(Bipolar I disorder)
ผู้ป่วยมีอาการระยะคลุ้มคลั่ง (Manic episode) สลับกับระยะอารมณ์ซึมเศร้า(Depressive episode)
มีอาการของ Manic episode อย่างน้อย 1 ครั้ง
โรคซึมเศร้าเรื้อรัง (Dysthymic disorder)
ทางด้านอารมณ์
รู้สึกเบื่อหน่าย ท้อแท้ ความภาคภูมิใจในตนเองต่ำ
ทางด้านความคิด
คิดช้า คิดเรื่องเดิมหรือคิดซ้ำๆ คิดถึงตอนตัวเองในด้านไม่ดี ขาดความเชื่อมั่นในตนเอง
ทางด้านพฤติกรรม
ผู้ป่วยจะบ่นรู้สึกเหนื่อเรื้อรัง รู้สึกอ่อนเพลียจากการทำกิจกรรมปกติ
การวินิจฉัยโรคซึมเศร้า(Major depressive disorder)
ตามเกณฑ์ของ DSM-V
ทางด้านร่างกาย
ความสนใจทางเพศลดลง
ผู้ป่วจะรู้สึกสดชื่นในช่วงเช้า แต่พอช่วงบ่ายจะรู้สึกเหนื่อยล้ามาก
เบื่ออาหารหรือรับประทานอาหารได้มากขึ้น นอนไม่หลับ หรือนอนหลับได้มากขึ้น
โรค(Bipolar II disorder)
มีอาการของ Hypomanic episode อย่างน้อย 1 ครั้งและ Major depressive episode อย่างน้อย 1 ครั้ง
ไม่เคยมีอาการ Manic episode
ผู้ป่วยมีอาการระยะคลุ้มคลั่งระดับต่ำ (Hypomanic episoe) สลับกับระยะอารมณ์ซึมเศร้า (Depressive episode)
อาจก่อให้เกิดความทุกข์อย่างมาก ทำกิจกรรมด้านสังคม การงานหรือด้านที่สำคัญต่างๆบกพร่องได้
โรคซึมเศร้า : MDD
ทางด้านอารมณ์
มีอารมณ์รุนแรงที่ไม่เหมาะสมกับเหตุการณ์จริงในชีวิต เบื่อหน่าย รู้สึกหงุดงิดง่าย โกรธง่าย รู้สึกว้าเหว่
ทางด้านความคิด
คิดซ้ำๆ คิดอะไรไม่ค่อยออก ไม่มีสมาธิ อาจมีความคิดฆ่าตัวตาย คิดว่าตนเองไร้ค่า
ทางด้านร่างกาย
3.ความต้องการทางเพศลดลง
4.มีอาการท้องผูก ท้องอืด อาหารไม่ย่อย
2.การนอนแปรปรวน นอนหลับน้อยลงหรือนอนไม่หลับ
5.ไม่มีพลัง ทำให้รู้สึกเหนื่อยง่าย ไม่มีแรง
1.ความอยากรับประทานอาหารแปรปรวน น้ำหนักลดหรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 5 ใน 1 เดือน
การวินิจฉัยโรคซึมเศร้า(Major depressive disorder)
ตามเกณฑ์ของ DSM-V
อารมณ์แปรปรวนเรื้อรัง
จะมีอาการของ Hypomania สลับกับอาการซึมเศร้าที่ไม่รุนแรงถึงขั้น Major depressive disorder
การรักษาผู็ป่วยที่มีความผิดปกติทางด้านอารมณ์
การรักษาด้วยกระแสไฟฟ้า : ECT
จะใช้รักษาหลังจากใช้ยารักษาแล้วไม่ได้ผลหรือในผู้ป่วที่มีประวัติรักษาว่ารักษาด้วยด้วย ECT แล้วได้ผลดีหรือในรายที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย
การรักษาทางจิตสังคม
การบำบัดความคิด
พฤคิกรรมบำบัด
การจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบำบัด
จิตบำบัด
การรักษาด้วยยา
แพทย์จะให้ยาควบคุมอารณ์(Mood stabilzing drugs)
lithium carbonate จะอยู่ระดับ 0.8-1.2 mEq/L
สาเหตุ
ปัจจัยด้านชีวภาพ
2.สารสื่อประสาท
3.การทำงานของต่อมไร้ท่อ
1.พันธุกรรม
4.การทำงานของสารที่มีผลต่อร่างกาย
ปัจจัยด้านจิตสังคม
ทฤษฎีเกี่ยวับความคิด
เหตุการณ์ในชีวิตและทฤษฎีเกี่ยวกับความเครียด
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์
ทฤษฎีบุคลิกภาพ
กระบวนการพยาบาลในการพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติทางด้านอารมณ์
การพยาบาลผู็ป่วยโรคซึมเศร้า
ด้านร่างกาย
4.ผู้ป่วยซึมเศร้ามีอาการให้ถูกมันจะไม่ค่อยมีเวลาเท่าไหร่พยาบาลต้องคอยประเมิน มากระตุ้นผู้ป่วยในการเคลื่อนไหว
5.ประเมินว่าผู้ป่วยมีอาการเจ็บป่วยทางร่างกายหรือไม่เพื่อให้ความช่วย เหลือ
3.ผู้ป่วยไม่ค่อยสนใจรับประทานอาหารเนื่องจากไม่มีความอยากอาหารพยาบาล ต้องประเมินให้ได้ว่าผู้ป่วยไม่รับประทานอาหารจะสาเหตุใด
6.สังเกตอาการข้างเคียงของยารักษาอารมณ์เศร้าที่ผู้ป่วยได้รับ
2.ผู้ป่วยซึมเศร้ามีอาการนอนไม่หลับพยาบาลต้องคอยประเมินและให้คำแนะนำ จัดให้ผู้ป่วยนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
7.ให้ข้อมูลและให้กำลังใจผู้ป่วยและญาติว่าการซึมเศร้าจากให้ค่อยดีขึ้นหลังจาก ได้รับการรักษษด้วยยา
1.พยาบาลต้องกระตุ้นโดยช่วยเหลือผู้ป่วยให้ทำความสะอาดร่างกายตัวเอง
ด้านจิตสังคม
4.พยาบาลต้องยอมรับผู้ป่วยให้เวลากับพี่ปุ๋ยบอกถึงข้อดีให้ผู้ป่วยทราบว่าผู้ ป่วยมองสิ่งต่างๆทั้งด้านบวก
5.พยาบาลควรสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดกับผู้ป่วยในระยะแรกใช้เวลา สั้นๆ
3.เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้รับการระบายความรู้สึกภายใน ใจ
6.กระตุ้นให้ผู้ป่วยมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ป่วย อื่น
2.จัดสิ่งแวดล้อมให้ผู้ป่วยปลอดภัยไม่มีปกรณ์ผู้ป่วยจะใช้ทำร้าย ตนเอง
7.พยาบาลต้องให้การยอมรับและอดทนให้เวลากับผู้ป่วยในการตอบคำถามหรือ ทำกิจกรรมต่างๆ
1.พยาบาลต้องคอยประเมินว่าผู้ป่วยมีความคิดที่จะทำร้ายตนเองหรือ ไม่
การพยาบาลผู้ป่วยอาการคลุ้มคลั่ง
ด้านร่างกาย
3.พยาบาลต้องช่วยกระตุ้นให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารและกระตุ้นให้ผู้ป่วย ดื่มน้ำเป็นระยะๆ
4.พยาบาลควรสังเกตและสอบถามเกี่ยวกับการขับถ่ายของผู้ ป่วย
2.จัดให้ผู้ป่วยได้พักเป็นระยะๆ
5.อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจถึงสาเหตุของการตรวจเลือด บ่อยๆ
1.แนะนำเรื่องการดูแลความสะอาด ร่างกาย
ด้านจิตสังคม
3.จัดให้ผู้ป่วยเข้าร่วมกลุ่มกิจกรรม บำบัด
4.ผู้ป่วยแสดงพฤติกรรมไม่เหมาะสมควรใช้การจำกัดพฤติกรรมและให้แรงเสริม เมื่อผู้ป่วยแสดงพฤติกรรมที่ไม่เหมาะม
2.พยาบาลต้องประเมินพฤติกรรมของผู้ป่วยเพื่อจะจัดจำกัดพฤติกรรม ของผู้ป่วยโดยการถูกยึดหรือให้ผู้ป่วยอยู่ในห้องแยก
5.ผู้ป่วย mania จะถูกกระตุ้นได้ง่ายต้องระวังเกี่ยว กับ
1.สร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดกับผู้ป่วยเพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความไว้ วางใจ
ลักษณะความผิดปกติ 3 ลักษณะ
อารมณ์คลุ้มคลั่ง
Hypomania
อารมณ์ไม่คงที่มีการเคลื่อนไหวทางร่างกายมาก
ไม่สนใจการรับประทานอาหารและการนอน ชอบเข้าไปพูดคุยกับคนอื่น
Acute mania
สนุกสนานครื้นเครงมากกว่าความเป็นจริงมีความคิดสับสน
ไม่มีความสัมพันธ์กันในสิ่งที่พูดคิดว่าตนเองเป็นใหญ่เป็นโต
Delirious mania
อาการแปรปรวนมาก ควบคุมตนเองไม่ได้ไม่รับรู้ตนเอง ไม่รับรู้เวลา สถานที่ บุคคล วุ่นวาย เอะอะ อาลวาด
อารมณ์คลุ้มคลั่งสลับเศร้า
แสดงออกในลักษณะเศ้ราคลุ้มคลั่งอารมณ์เปลี่ยนแปลงโดยไม่มีช่วงเศร้าโดดเรียนไปจนถึงคลุ้มคลั่ง
อารมณ์ซึมเศร้า
2.Moderate depression
ซึม พูดน้อยลง คิดช้า วิตกกังวล
การทำงานบกพร่อง ร่างกายอ่อนแอ รับประทานอาหารได้น้อย
3.Severe depression
สนใจสิ่งแวดล้อมน้อยลง กังวลสูงนอนไม่หลับ ไม่อยู่นิ่ง
ปฏิเสธการรับประทานอาหาร หลงผิด ประสาทหลอน ทำร้ายตัวเอง
1.Mild depression
การดำเนินชีวิตยังคงปกติ
เบื่อหน่ายเล็กน้อย หดหู่ เศร้า ซึม
6.3 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติทางบุคลิภาพ
สาเหตุ
ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม
การดูแลของพ่อแม่ ลักษณะการเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสม
การอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่กดดัน เช่น การถูกกดขี่ หรือทารุณกรรมทางด้านจิตใจ
ปัจจัยด้านจิตใจ
2.ทฤษฎีการเรียนรู้
อธิบายว่าเด็กจะพัฒนาพฤติกรรมการแสดงออกที่ผิดปกติโดยจากการเลียนแบบ
3.ทฤษฎีการรู้คิด
กล่าวถึงความเชื่อและปฏิกิริยาการแสดงออกทางอารมณ์และพฤติกรรม
1.ทฤษฎีจิตวิเคราะห์
อธิบายถึงสาเหตุของบุคลิกภาพที่ผิดปกติว่าเกิดจากความไม่เหมาะสมของ พัฒนาการในระยะต่างๆ
ปัจจัยด้านชีวภาพ
ปัจจัยทางพันธุกรรม/ครอบครัว
อาจได้รับอิทธิพลจากสิ่งแวดล้อมขณะอยู่ในครรภ์มารดา
สารสื่อประสาทผิดปกติ
ผู็ที่มีพฤติกรรมพยายามฆ่าตัวตายมักพบระดับ Serotonin ต่ำ
อาการและอาการแสดง
2.พฤติกรรมแบบต่อต้านสังคม( Antisocial personality disorder)
ผู้ป่วยจะมีพฤติกรรมคุณหันพลนแล่นใจ ร้อนหงุดหงิด ก้าวร้าว ชอบ เปลี่ยนคู่ครอง
ไม่สามารถรับผิดชอบในหน้าที่การงานได้
จากประวัติในวัยเด็กจะมีตั้งแต่โกหกนิโรงเรียน หนีออกจากบ้าน รัก ขโมย ชกต่อย
3.พฤติกรรมแบบก้ำกึ่ง(Borderline personality disorder)
อาจมีพฤติกรรมทะเลาะเบาะแว้งและอาจเศร้าซึมในเวลาต่อมา
มักไม่ประสบความสำเร็จในหน้าที่การงานเกิดความรู้สึกไม่ พอใจในชีวิต
มีลักษณะการแสดงออกที่บ่งบอกถึงความไม่มั่นคง
จะมีลักษณะของความไม่แน่นอนในด้านสัมพันธภาพระหว่าง บุคคล
1.พฤติกรรมแบบพึ่งพา(ependent personality disorder)
ขาดความเชื่อมั่นในตนเองจึงยอมที่จะทำตามความต้องการของผู้อื่น มากกว่าความต้องการของตนเอง
มีลักษณะเด่นในด้านการพึ่งพาผู้อื่น ต้องการให้ผู้อื่นดูแลจนนำไปสู่ การยอมทำตามผู้อื่น
เฉยชา ชักจูงง่าย ไม่มีความมุมานะ สงสัยในตนเอง
การวินิจฉัยความผิดปกติทางบุคลิกภาพ
2.ด้านอารมณ์(Affecvity)
อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย มีการแสดงออกทาง อารมณ์ไม่เหมาะสม
3.ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล(Interpersonal functioning)
มีปัญหาด้านความสัมพันธ์กับผู็อื่น
1.ด้านการรู้คิด(Cognition)
การรับรู้และตีความเกี่ยวกับตนเองผู้อื่นเบี่ยงเบน ไปจากความจริง
4.ด้สนการควบคุมตนเอง(Impulse control)
ขาดความสามารถในการควบคุมตนเอง มีพฤติกรรมหุนหันพันแล่น
การบำบัดรักษาผู้ที่มีความผิดปกติทางบุคลิกภาพ
จิตบำบัด
เพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความเข้าใจตนเองเข้าใจปัญหาและหาวิธีการที่จะปรับ ตัวให้เหมาะสมกับสังคมและสิ่งแวดล้อม
พฤติกรรมบำบัด
เป็นการมุ่งเน้นสถานการณ์ความเครียดในปัจจุบันเรียนรู้ที่จะปรับ พฤติกรรมของตนเอง
การรักษาด้วยยา
ยาต้านเศร้า (Antidepressant)
ยาต้านโรคจิต (Antipsychotic)
ยาคลายกังวล (Antianxiety)
นิเวศบำบัด
ผู้ป่วยต้องเรียนรู้ที่จะปรับตัวอยู่ในสังคม ควบคุมพฤติกรรมที่ไม่เป็นที่ ยอมรับของสังคมเป็นสิ่งสำคัญ พยาบาลต้องกระทำอย่างมีเหตุผลให้ เกียรติผู้ป่วยมีความจริงใจ
ความหมายของความผิดปกติทางบุคลิกภาพ
ลักษณะบุคลิกภาพ
ลักษณะหรือแบบแผนของบุคคลซึ่งแสดงออกมาเป็น คุณลักษณะเฉพาะของแต่ละบุคคล
บุคลิกภาพผิดปกติ
แบบแผนของพฤติกรรมที่เมืองเบนไปจากความคาดหวัง ของวัฒนธรรมของบุคคลนั้นๆ
บุคลิกภาพ
แบบแผนหรือลักษณะเฉพาะของแต่ละบุคคล ที่แสดงออกเป็นความรู้สึกนึกคิด การรับรู้และพฤติกรรม
การปฏิบัติการพยาบาล
ชมเชยและให้แรงเสริมทางบวกในทุกๆพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี
7.แนะนำว่าการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมควรกำหนดเป้าหมายที่ทำได้ไม่ยาก
ฝึกให้แสดงบทบาทสมมุติ เกี่ยวกับทักษะที่เหมาะสมในการดำเนินชีวิต
8.แนะนำผู้ป่วยและครอบครัวในการฝึกทักษะทางสังคมอย่างเหมาะสมกับผู้อื่น
ให้เลือกวิธีการผ่อนคลายความเครียดที่เหมาะสมกับตนเองโดยพยาบาลเป็นผู้แนะนำเทคนิคการคลาย เครียดต่างๆ
9.แนะนำครอบครัวในการฝึกผู้ป่วยให้ตัดสินใจในเรื่องต่างๆด้วยตนเอง
3.ให้เลือกและทดลองใช้เทคนิคการแก้ปัญหาแบบใช้เหตุผล โดยแก้ที่ต้นเหตุของปัญหา
10.แนะนำครอบครัวให้เข้าใจและให้กำลังใจผู้ป่วย
แนะนำการแสดงความคิดเห็นต่อผู้อื่น ด้วยวิธีการที่เป็นที่ยอมรับในสังคม
1.ให้เรียนรู้จากแบบอย่างของพฤติกรรมที่กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม
11.แนะนำครอบครัวสังเกตพฤติกรรมของผู้ป่วย หากมีพฤติกรรมที่เป็นอันตรายให้นำส่งโรง พยาบาล
12.แนะนำแหล่งช่วยเหลือที่มีอยู่ในชุมชน