Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบหัวใจและหลอดเลือด ( Cardiovascular System ), นางสาวอรอุมา โสภา เลขที่…
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
( Cardiovascular System )
เลือด Blood
เม็ดเลือดแดง (Red Blood Cell หรือ Erythrocyte)
ลักษณะรูปกลมแบน ตรงกลางเว้าเข้าหากัน
มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมำณ 7 -8 ไมครอน และ หนาประมาณ 1 -2 ไมครอน
มีลักษณะยึดหยุ่นและเปลี่ยนแปลงรูปร่างได้ จึงสามารถผ่านหลอดเลือดฝอยได้
มีสารประกอบของโปรตีน เรียกว่า ฮีโมโกลบิน(Hemoglobin)ซึ่งมีธาตุเหล็กเป็นส่วนประกอบที่สำคัญ
ฮีโมโกลบินทำหน้าที่จับออกชิเจนแล้วกลายเป็นออกซี่ฮีโมโกลบิน (Oxyhemoglobin) ช่วยขนส่งออกชิเจนไปยังเชลล์และเนื้อเยื่อส่วนต่ำง ๆของร่างกาย และนำคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากเชลล์และเนื้อเยื่อ ไปสู่ ปอด
เม็ดเลือดแดงส่วนใหญ่สร้างมาจาก ไขกระดูกแดง (Red Bone Marrow) มีอายุประมาณ 120 วัน
เม็ดเลือดขาว (White Blood Cell หรือ Leucocyte)
ในคนปกติจะมีประมำณ 5-9พันเซลล์ ต่อเลือด 1ลบมม.
จำนวนอาจเปลี่ยนแปลงตามอายุ เพศ หรือสภาวะของร่างกาย เช่น มีการติดเชื้อโรค ถ้ามีปริมำณสูงกว่าปกดิเรียกว่า ลิวโคไซโตซีส (Leukocytosis) ถ้ามีปริมาณน้อยกว่าปกติเรียกว่า ลิวโคพีเนีย (Leukopenia) และเรียกโรคเลือดที่มีจำนวนเม็ดเลือดขาวผิดปกติว่า ลิวคีเมีย (Leukemia)
เม็ดเลือดขาวถูกสร้างขึ้นมาตลอดเวลาจากไขกระดูก ต่อมน้ำเหลือง ม้าม และต่อมไทมัส
หน้าที่ทำลายเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมที่เข้าสูร่างกาย ดังนั้น เมื่อมีการติดเชื้อเกิดขึ้นก็จะทำให้เม็ดเลือดขาวเพิ่มจำนวนมากกว่าปกติ
พลาสมา
เป็นส่วนประกอบของเลือดที่นอกเหนือจากเม็ดเลือด มีลักษณะเป็นน้ำ หรือ ของเหลว มีสีเหลืองใส มีฤทธิ์เป็นด่างเล็กน้อย คือมีค่า PH ประมำณ 7.35 -7.45
มีประมาณ 55 เปอร์เซ็นต์ของเลือด
พลาสมามีหน้าที่สำคัญ คือ
ช่วยในการแข็งตัวของเลือดเพราะมี Fibrinogen
ทำให้เลือดมีความหนืด
ช่วยทำให้เกิดแรงดันออสโมติค (0smoticPressure) ซึ่งมีบทบาทสำคัญต่อการดูดน้ำไว้ในเส้นเลือด
ช่วยสร้างภูมิคุ้มกันโรค ฮอร์โมน และเอนไซม์ต่าง ๆ
ส่วนประกอบที่สำคัญ
น้ำ มีประมำณ 90-93เปอร์เซ็นต์
โปรตีน มีประมาณ 6 -8 เปอร์เซ็นต์ ประกอบด้วย อัลบูมิน (Albumin)โกลบูลิน (Globulin) และไฟบริโนเจน (Fibrinogen)
สารอาหารต่าง ๆ เช่น กรดอะมิโน กลูโคส กรดไขมัน และกลีเซอรอล
ก๊าซออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์
เกลือเร่ที่สำคัญ เช่น แคลเซียม โซเดียมคลอไรด์ และโพทัสเชียม
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อ
ของเสียที่เกิดจากกระบวนการเผาผลาญอาหาร เช่น กรดแลคดิค กรดยูริค ยูเรีย และแอมโมเนีย
ภูมิคุ้มกันโรค เช่น Gamma Globulin
เลือดทำหน้าที่ขนส่ง O2, CO2, สารอาหาร,
ของเสีย, ฮอร์โมน, และ ความร้อน
ช่วยปกป้องร่างกายโดย สารแอนติบอดี (antibodies),เม็ดเลือดขำว (leukocytes), เกร็ดเลือด (platelets),
มีบทบาทในการอักเสบ (Inflammation)
ช่วยคงสมดุลของน้ำในร่างกาย และ ค่าความเป็นกรดด่างของน้ำในร่างกาย.
เกล็ดเลือด (Blood Platelet หรือ Thrombocyte)
เกล็ดเลือดมีขนาดเล็ก ไม่มีสี ไม่มีนิวเคลียส โดยปกติมี ประมาณ 250,000 -300,000 เกล็ด ต่อ 1 ลบ.มม
มีอายุประมาณ 2 -3 วัน เกล็ดเลือดถูกสร้างขึ้นในไขกระดูกแดงจากเชลล์ที่เรียกว่า เมกาคอรีโอไซด์ (Megakaryocyte) ถูกทำลยที่ม้าม
เกล็ดเลือดมีหน้าที่สำคัญในกระบวนการแข็งตัวของเลือด เมื่อมีหลอดเลือดถูกทำลายเกล็ดเลือดบริเวณนั้นจะรวมตัวกันเป็นก้อน และอุดตรงบริวณหลอดเลือดที่ถูกทำลาย เพื่อป้องกันไม่ให้เลือดไหลออกมาภายนอก
หัวใจ Heart
โครงสร้าง
Epicardium เยื่อหุ้มหัวใจ
Myocardium กล้ามเนื้อหัวใจ
Endocardium เยื่อบุหัวใจ
The human heart has 4 chambers
หัวใจห้องล่างขวา (Right ventricle)
หน้าที่รับเลือดจากหัวใจห้องบนขวา แล้วส่งออกไปยังปอด ผ่านลิ้นหัวใจ พัลโมนารี (pulmonary valve) และหลอดเลือดแดงพัลโมนารี (pulmonary arteries)
หัวใจห้องบนซ้าย (Left atrium)
หัวใจห้องนี้จะรับเลือดที่ได้รับออกซิเจนจากปอดผ่านทางหลอดเลือดดำพัลโมนำรี (pulmonary veins ) ส่งเลือดผ่านให้หัวใจห้องล่างซ้ายทางลิ้นไมทรัล (Mitral valve)
หัวใจห้องบนขวา Right atrium
หน้าที่รับเลือดจากหลอดเลือดดำใหญ่ซุพีเรียเวนำคำวำ (superior vena cava) ซึ่งรับเลือดมาจากร่างกายส่วนบนและอินฟีเรียร์เวนคำวำ (Inferior vena cava) รับเลือดมาจากร่างกายช่วงล่างเลือดจกหัวใจห้องบนขวาจะไหลเข้าสู่หัวใจห้องล่างขวา ผ่านทางลิ้นหัวใจไทรคัสปิด (Tricuspid valve)
หัวใจห้องล่างซ้าย Left venyicle
หน้าที่สูบฉีดเลือดไปยังทั่วทั้งร่างกายผ่านลิ้นหัวใจเอออร์ติก และหลอดเลือดแดงใหญ่เอออร์ตา
สรีรวิทยาของหัวใจ (Physiology of the Heart)
สูบฉีดเลือดออกจากหัวใจเพื่อไปเลี้ยงเซลล์และเนื้อเยื่อตามส่วนต่างๆ ของร่างกายโดยการบีบตัวของหัวใจห้องล่างช้าย (Left Ventricle) ซึ่งเรียกระยะของการบีบตัวนี้ว่า ซีสโตล (Systole) ผ่านเส้นเลือดแดงใหญ่ เอออร์ตา (Aorta)
รับเลือดจากเชลล์และเนื้อเยื่อที่ใช้แล้วสูบหัวใจห้องบนขวา (Right Atrium) เพื่อไปสู่หัวใจห้องล่างขวา (Right Ventricle) แล้วสูบฉีดเพื่อ ไปฟอกที่ปอด (แลกเปลี่ยนก๊าซระหว่างคาร์บอนไดออกไซด์กับออกซิเจน)
ความดันโลหิต Blood Pressure
คือแรงดันที่เกิดจากหัวใจบีบตัวและคลายตัวมี 2 ระยะคือ
ระยะที่หัวใจห้องล่าง บีบตัวเพื่อส่งเลือดออกไปเรียกว่าระยะบีบตัวหรือ Systolic
ระยะที่หัวใจห้องล่างคลายตัวเรียกว่าระยะคลายตัวหรือ Diasyolic
การควบคุมการทำงานของหัวใจ
การควบคุมจากระบบประสาทอัตโนมัติ คือซิมพาเทติด ควบคุมการเต้นของหัวใจให้เร็วและแรง และพาราซิมพาเทติด ควบคุมการเต้นของหัวใจให้เบาลงและช้าลง
การควบคุมจากระบบต่อมไร้ท่อ
การควบคุมของหัวใจเอง
หลอดเลือด Blood vessele
Artery/ Arteries (หลอดเลือดแดง)
Vein/ Veins (หลอดเลือดดำ)
Capillary/ Capillaries (หลอดเลือดฝอย)
Superior vena cava อ่านว่าซุพีเรียเวนาคาวา
(หลอดเลือดเวนำคำวำด้ำนบน)
Inferior vena cava อ่านว่าอินฟีเรียเวนาคาวา
(หลอดเลือดเวนำคำวำด้ำนล่ำง)
Aorta อ่านว่า ออร์ทา
(หลอดเลือดแดงใหญ่เอออร์ตำ)
หน้าที่
ขนส่งออกซิเจนและอาหารไปให้เซลล์ทั่วร่างกาย นำคาร์บอนไดออกไซด์และของเสียจากเซลล์ไปขับทิ้งยังอวัยวะขับถ่าย
ช่วยควบคุมระดับความสมดุลย์ของกรด-ด่างในร่างกาย
ช่วยควบคุมระดับความสมดุลของอุณหภูมิในร่างกาย
ช่วยทำลายเชื้อโรค และป้องกันเชื้อโรคโดยกรสร้างภูมิคุ้มกันกับร่างกาย
ลำเลียงฮอร์โมนและเอนไซม์ให้เซลล์เพื่อให้อวัยวะมีการทำงานปกติ
ป้องกันเลือดไหลไม่หยุด โดยการเกิดลิ่มเลือดอุดบาดแผล
นางสาวอรอุมา โสภา เลขที่ 1