Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรวิทยาของภาวะสมดุลน้ำของอิเลคโทรไลทีและภาวะกรด-ด่างในร่างกาย,…
พยาธิสรีรวิทยาของภาวะสมดุลน้ำของอิเลคโทรไลทีและภาวะกรด-ด่างในร่างกาย
กรด-ด่าง
การควบคุมสมดุลกรดด่าง
คือการควบคุมไฮโดเจนไอออน นอกเซลล์หรือควบคุมpH ให้มีค่าคงที่โหด 7.35 ถึง 7.45 ทำให้การทำงานของเอนไซม์และเมตบอลิซึมปกติ
การควบคุมผ่านการหายใจ
(Respiratory regulation)
Medulla จะไวมากต่อระดับคาร์บอนไดออกไซด์และความเป็นกรดของเลือด ถ้ามีอัตราการเพิ่มขึ้นของอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือทั้งสองอย่าง จะทำให้มีการหายใจเพิ่มขึ้นเพื่อให้pHกลับเข้าสู่ภาวะปกติได้
การควบคุมโดยไต
(Kidney excetion)
เป็นกลไกลสำคัญในการรักษาภาวะสมดุลของกรดด่างของร่างกาย ทำงานช้ากว่าระบบอื่น แต่มีประสิทธิภาพสูงขับกรดออกจากmetabolism
กลวิธีในการรักษาสมดุลกรด-ด่างของไต
การดูดซึม bicarbonate ที่กรองผ่าน glomeruli
ขับกรด(H+)ออกมาในปัสสาวะ
ความผิดปกติของสมดุลกรด-ด่าง
Primary metabolic acidosis เสียbicarbonate เกิดขึ้นมากในร่างกาย
Primary metabolic acidosis ลดการหายใจ CO2สูงขึ้น pHลดลง
Primary metabolic acidosis เพิ่มการหายใจ CO2 ต่ำลง pHเพิ่มขึ้น
Primary metabolic acidosis
สาเหตุ
มีการสร้างกรดมากขึ้น ร่างกายไม่สามารถกำจัดกรดได้ สูญเสียไบคาบอนเนตมากทำให้เลือดเป็นกรด มีภาวะกรดในร่างกายมากเช่น ช็อค ไตวาย ติดเชื้อ
การประเมินสภาพร่างกาย
ผลตรวจทางห้อง lab ปฏิบัติการมีอาการซึมสับสน หหายใจเร็วและลึกมาก หายใจมีกินผลไม้ปวดศรีษะ
การพยาบาล
ประเมินสภาพผู้ป่วย โดยติดตามสัญญาณชีพ อัตราเต้นของหัวใจ ความดันโลหิตและระดับความรู้สึกตัว
วิธีประเมินค่าความเป็น กรด-ด่างของร่างกาย
PCO2 =ค่าปกติ35-45 mm.Hg.
บอกความเข้มข้น carbonic acid
PO2 ค่าปกติ80-100mm.Hg.
บอกถึงความเข้มข้นของO2
BE=ค่าปกติ+2 แสดงว่ามีด่างในเลือดมาก
pH =ค่าปกติ 7.35-7.45 บอกความเข้มข้นของH+
HCO3- =ค่าปกติ22-26 mEq/L.บอกความเข้มข้นbicarbonate (HCO3-)
สมดุลของน้ำ
หน้ําที่ของนํ้าภายในร่างกาย
(FUNCTION OF BODY FLUID)
ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย ช่วยดูดซึมและแพร่กระจายของสารต่างๆ เป็นตัวกลางในการนำสารต่างๆไปยังระบบที่เหมาะสม
ร่างกายได้รับน้ำ3ทางคือ ดื่มน้ำ อาหารเช่นข้าว เนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้ ซึ่งของร่างกาย
ร่างกายสูญเสียน้ำ
2.ทางที่ปรับสมดุลได้ (insensible perspiration)
ทางที่หลีกเลี่ยงไม่ได้
(insensible perspiration)
อัตราเมตาบอลิซึม
อุณหภูมิ
ความชื้น
ทางที่ปรับสมดุลได้
(insensible perspiration)
ผิวหนัง โดยเหงื่อ
ขับถ่าย
การควบคุม
การกระหายน้ำ
ควบคุมโดยปริมาณน้ำและความเข้มข้นของพลาสมาที่Hypothalamus
ผิวแห้ง ปากแห้ง อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย ปัสสาวะน้อยเวียนหัว
ตาลึกโหล
ความดันต่ำ
การขับปัสสาวะอาศัยไต ควบคุมโดยความเข้มข้นและปริมาตรของพลาสมา
กลไกการรักษาสมดุลของน้ำ
ภาวะร่างกายขาดน้ำหรือมีน้ำในเลือดน้อย
ทำให้เลือดข้นกว่าปกติ ออสโมติกกระตุ้นเซลล์ประสาทในไฮโพธารามัส กระตุ้นให้รู้สึกกระหายน้ำจึงดื่มน้ำและมีการดูดน้ำกลับคืน ที่ท่อหน่วยไตมากขึ้นกว่าเดิม ทำให้ปริมาณน้ำในเลือดกลับเข้าสู่ภาวะ
ภาวะขาดน้ำDehydration
การดื่มน้ำน้อยเกินไป เช่นผู้ป่วยที่มีอาการโคม่าผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
ร่างกายสูญเสียน้ำมากเกินไป เช่นท้องเสีย หรือการออกกำลังกาย หรือผู้ป่วยในโรคเบาหวาน
การขับปัสสาวะต้องอาศัยADH
aldosterone
ภาวะน้ำเกินและภาวะพิษของน้ำ (WATER EXCESS AND WATER INTOXICATION
สาเหตุ
ไตพิการ
เลือดไปเลี้ยงไตลดลง
ไตปกติแต่มีการหลั่งADHมากขึ้น
การเปลี่ยนแปลงที่ระดับเซลล์น้ำจะเข้าไปภายในเซลล์จนกระทั่งความเข้มข้นเท่ากันทำให้เซลล์บวม
อาการ
ปวดหัว
น้ำหนักตัวเพิ่ม
อ่อนเพลีย
ปวดท้อง
ชัก
Body Electrolytes
hyponatremia
คือระดับซีรัมโซเดียมน้อยกว่า 135 มิลลิโมล/ลิตรใช้รักษาไม่ดีในผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวจะมีอัตราการเสียชีวิตที่สูงขึ้นและยังเพิ่มอัตราการเสียชีวิตในเพราะว่าอื่นๆ เช่น ปอดอักเสบ
สาเหตุ
เกิดจากความสามารถในการขับสารน้ำของไตผิดปกติและเกิดจากการสูญเสียโซเดียม
อาการ
สมองบวมน้ำ ปวดศรีษะ คลื่นไส้ อาเจียน
Hypernatremia
ระดับซีรั่มโซเดียมสูงกว่า 10 ระดับซีรัมโซเดียมสูงกว่า150มิลลิโมล/ลิตรผู้ป่วยวิกฤตมีโอกาสสูงที่จะติดภาวะโซเดียมสูงในเลือด
อาการ
สับสน ชัก ซึม ผิวหนังตึง
Hypokalemia
สาเหตุ
เกิดจากการได้รับโพแทสเซียมไม่เพียงพอ
อาการ
มักเกี่ยวกับ ระบบประสาทกล้ามเนื้อ เช่น กล้ามเนื้ออ่อนแรง
Hyperkalemia
คือภาวะที่โพแทสเซียมในเลือดมากกว่า5มิลลิโมล/ลิตร
อาการ
หายใจลำบาก หัวใจเต้นผิดปกติ เกิดน้ำคั่งในร่างกาย
Hypocalcemia
สาเหตุ
ที่พบได้บ่อยได้แก่ ผู้ป่วยอุบัติเหตุ ภาวะไตล้มเหลวเฉียบพลันและเรื้อรัง การติดเชื้อ
อาการ
ชัก ผมร่วง มีผื่นผิวหนัง
Hypercalcemia
แคลเซียมสูงในเลือด
สาเหตุ
เกิดจากพิษวิตามินดีและภาวะไตวาย
นางสาวปาริชาต ทองยัง
UDA6380062