Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา (Internal Quality Assurance) - Coggle…
การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
(Internal Quality Assurance)
การประกันคุณภาพภายในกับการประเมินคุณภาพภายนอก
เชื่อมโยงกันด้วย
มาตรฐานการศึกษา
เป็นหลัก
การประกันคุณภาพภายใน
วัตถุประสงค์
2.เพื่อนำผลการประเมินมาจัดทำข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับ
คุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
3.เพื่อรายงานผลการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
ของสถานศึกษา
1.เพื่อตรวจสอบคุณภาพและผลการปฏิบัติงานของสถานศึกษา
4.เพื่อเตรียมความพร้อมในการรับการประเมินจาก
องค์กรภายนอก
แนวทางการประเมิน
1.ระดับสถานศึกษา
3.ดำเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษา
3.3 การประกันคุณภาพเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
3.4 การประกันคุณภาพต้องเกิดจากความร่วมมือของทุกฝ่าย
3.2 การประกันคุณภาพม่งพัฒนางานตามความรับผิดชอบของตนเอง
3.5 การประกันคุณภาพต้องเกิดจากการยอมรับและ
นำผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนา
คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
3.1 การประกันคุณภาพเป็นหน้าที่ของบุคลากรทุกคน
4.ประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
ภายในสถานศึกษา
2.จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษา
สถานศึกษา แต่ละแห่งให้ความร่วมมือกับสานักงานรับรองมาตรฐาน
และประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ . ) ในการประเมิน
5.ติดตามผลการดำเนินการเพื่อพัฒนาสถานศึกษา
1.กำหนดมาตรฐานของสถานศึกษา
6.จัดทำรายงานผลการประเมินตนเอง (SAR)
2.ระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
3.ติดตามผลการดำเนินงานปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ สถานศึกษา
4.ให้ความร่วมมือ สมศ .ในการประเมินคุณภาพภายนอก
2.รวบรวม และสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเอง
ของสถานศึกษา(SAR)
5.อาจมอบหมายบุคคลที่ไม่ได้เป็นผ้ประเมินเข้าร่วมสังเกตการณ์
1.ศึกษา วิเคราะห์ รายงานผลการประเมินตนเอง
3.ระดับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน(สพฐ . )
2.ศึกษาวิเคราะห์สรุปผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR)
3.ติดตามผลการดำเนินงานปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษา
1.ส่งเสริม สนับสนุน ให้คำปรึกษา ช่วยเหลือ
4.ประสานความร่วมมือกับ สมศ . ในการจัดบุคคลร่วมเป็นผู้ประเมินคุณภาพภายนอก
ลักษณะ
เป็นกระบวนการตรวจสอบการทำงานของตนเอง(Self-evaluation)
การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
ควรดำเนินการประเมิน 2 ลักษณะ คือ
:check: ตามมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและ
:check: ตามมาตรฐานการปฏิบัติงานของทุกฝ่าย
หลักการและขั้นตอน
ใช้หลักการบริหารวงจรคุณภาพ PDCA
ขั้นตอนการประกัน
คุณภาพภายใน
การตรวจสอบคุณภาพ
การประเมินคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพ
ความหมาย
การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพ
และมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายใน
โดยบุคลากรของสถานศึกษาเพื่อให้ได้ข้อมูลมาปรับปรุง
พัฒนาการดำเนินงานให้บรรลุเป้าหมาย
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตรวจประเมินคุณภาพภายใน
ความร่วมมือของผู้รับการตรวจประเมิน
ความถูกต้องชัดเจนของการรายงานผลการตรวจประเมิน
ความชัดเจนของอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ
การดูแลของฝ่ายบริหารเพื่อให้มีการแก้ไข้ข้อบกพร่อง
ความพร้อมของบุคลากร และหลักฐานต่าง ๆ
มีวิธีการตรวจสอบการแก้ไขข้อบกพร่องที่เหมาะสม
การให้การสนับสนุนของฝ่ายบริหารของสถานศึกษา
มาตรฐานการศึกษา
ความสำคัญ
มาตรฐานทำให้สถานศึกษาเข้าใจชัดเจนว่าจะพัฒนา
คุณภาพการศึกษาไปในทิศทางใด
การกำหนดมาตรฐานเป็นการกำหนดความคาดหวังที่ชัดเจนให้กับครูผ้บริหารู พ่อแม่ผ้ปกครอง ชุมชนและหน่วยงานต่าง ๆ ที่มี
ส่วนเกี่ยวข้อง
สถานศึกษาทุกแห่งมีเกณฑ์เปรียบเทียบกับมาตรฐาน
ความหมาย
มาตรฐานการศึกษาเป็นข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะและ
คุณภาพที่พึงประสงค์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นในสถานศึกษาทุกแห่ง
ถูกกำหนดขึ้นเพื่อใช้เป็นหลักเทียบเคียงสำหรับการส่งเสริม
และกำกับดูแล การตรวจสอบ การประเมินผลและการประกัน
คุณภาพการศึกษา
การกำหนดมาตรฐานการศึกษา
เน้นที่คุณภาพผู้เรียน คุณภาพผู้บริหารสถานศึกษา และคุณภาพครู
มีความสอดคล้อง
กับมาตรฐานการศึกษาชาติและข้อกำหนด ในกฎกระทรวงการประกันคุณภาพ
การศึกษา พ.ศ. 2561
มาตรฐานการศึกษาในแต่ละระดับ
มี 5 ระดับ คือ ระดับกำลังพัฒนา ระดับปานกลาง ระดับดี ระดับดีเลิศ และระดับยอดเยี่ยม
มุ่งเน้นคุุณภาพมาตรฐานขั้นต้น
ในระดับ“ปานกลาง”
คุณภาพมาตรฐานขั้นสูง
ได้แก่ระดับ “ดี” “ดีเลิศ” และ “ยอดเยี่ยม”