Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการบริหารยุคคลาสสิก (Classical organizational theory) - Coggle…
ทฤษฎีการบริหารยุคคลาสสิก
(Classical organizational theory)
เป็นทฤษฎีการบริหารที่ประกอบด้วยแนวคิด / หลักการที่สำคัญ ได้แก่ หลักการบริหารตามหลักวิทยาศาสตร์หลักการจัดการตามหลักการบริหารและหลักการจัดการตามระบบราชการ
หลักการจัดการตามหลักการบริหาร
(Administrative Management)
Henri Fayol เป็นผู้คิดค้นหลักการ 14 หลักการ
จนได้ชื่อว่าเป็น“ ผู้ริเริ่มหลักการจัดการตามหลักการบริหาร (Administrative management principle) "
เสนอหลักการจัดการไว้ 14 หลักการ
การแบ่งงานกันทำ
การให้อำนาจ
ความมีวินัย
เอกภาพในการบังคับบัญชา
หลักการมีทิศทางเดียวกัน
การถือประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนบุคคล
การจ่ายค่าตอบแทน
การรวมอำนาจ
สายการบังคับบัญชา
ความมีระเบียบ
ความเท่าเทียม
ความมั่นคงของบุคลากร
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
หลักความสามัคคี
หลักการบริหารตามหลักวิทยาศาสตร์ (Scientific Management) Frederick winlow Taylor“ บิดาแห่งหลักการบริหารตามหลักวิทยาศาสตร์ได้เสนอหลักการบริหารไว้ 4 ประการดังนี้
1) Scientific Job Andyls คือการวิเคราะห์งาน
ตามหลักวิทยาศาสตร์โดยผ่านการสังเกต
การรวบรวมข้อมูลและการวัดอย่างรอบคอบ
ในปัจจุบันเรียกว่า
Time - and -motion study
4) Functional Superising คือการกำกับดูแลการทำงานโดยผู้บริหารทำหน้าที่วางแผน(planning) จัดองค์การ(organizing) และตัดสินใจ(decision-making) ในขณะที่ผู้ปฏิบัติงานปฏิบัติหน้าที่ของตน
3) Management Cooperation คือการสร้างความร่วมมือระหว่างผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานเพื่อให้แน่ใจว่างานที่ทำอยู่นั้นเป็นไปตามหลักการทางวิทยาศาสตร์
2) Selection of Personnel คือการคัดเลือกบุคลากรที่เหมาะสมกับงานแต่ละงาน
หลักการจัดการตามระบบราชการ
(Bureaucracy management)
วิธีการจัดการที่เหมาะสมกับองค์การขนาดใหญ่ที่มีโครงสร้างองค์การซับซ้อน Max Weber เสนอหลักการจัดการตามระบบราชการ 7 หลักการคือ
1) การแบ่งงานกันทำ (division of work) ตามความรู้ความชำนาญ (specialization)
2) การจัดตำแหน่งตามสายบังคับบัญชา (scalar chain) จากระดับสูงมายังระดับรอง
3) การกำหนดกฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบังคับและขั้นตอนการปฏิบัติงาน
4) บุคคลทำหน้าที่ที่กำหนดไว้อย่างเป็นทางการโดยไม่ยึดความเป็นส่วนตัว
5) การจ้างงานใช้หลักคุณสมบัติทางวิชาชีพ (professional qualities)
6) มีความก้าวหน้าในอาชีพ (career aspects)
7) มีอำนาจตามกฎหมาย (legal authority)