Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่5 การพยาบาลผู้ป่วยปัญหาช็อก, นางสาว สร้อยฟ้า วงค์ชัย ชั้นปีที่3,…
บทที่5 การพยาบาลผู้ป่วยปัญหาช็อก
การพยาบาลผู้ป่วยในภาวะช็อก :red_flag:
ช็อกเป็นภาวะการเจ็บป่วยฉุกเฉินที่คุกคามต่อชีวิต
มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนได้ง่าย
ทำให้เกิดการล้มเหลวของอวัยวะหลายระบบ
ระยะของภาวะช็อก :red_flag:
ระยะปรับชดเชย
เป็นระยะที่ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจใน 1 นาทีลดลง
ระยะก้าวหน้า
เป็นระยะที่กลไกลการปรับชดเชยของร่างกายภาวะหลอดเลือดหดรัดตัวยังคงอยู่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ระยะไม่สามารถฟื้นคืน
เป็นระยะสุดท้ายของช็อก
ความหมายของภาวะช็อก :red_flag:
ภาวะช็อกเป็นกลุ่มอาการทางคลินิก
เกิดจากการมีภาวะบกพร่องของออกซิเจนสู่เนื้อเยื่อ
2.1 ภาวะที่เกิดจาก low perfusion pressure
2.2 ภาวะที่เกิดจาก low cellular oxygen
ชนิดของภาวะช็อก :red_flag:
ช็อกจากการเสียเลือดและน้ำ :star:
สาเหตุ
External hemorrhage : fluid losses
Internal hemorrhage : fluid shifts
ช็อกจากหัวใจ :star:
สาเหตุ
ความผิดปกติของกล้ามเนื้อหัวใจ
มีการอุดกั้นการไหลเวียนของเลือด
สาเหตุอื่นๆได้แก่ โรคของลิ้นหัวใจและการเต้นของหัวใจผิดจังหวะ
ช็อกจากการกระจายของเลือดผิดปกติ :star:
3.1 ช็อกจากการติดเชื้อ :black_flag:
สาเหตุสำคัญจากการติดเชื้ออย่างรุนแรง
แบ่งได้เป็น 2 ระยะ
ระยะ early septic shock / warm shock
2.ระยะ late septic shock / cold shock
พยาธิสรีรภาพ
afterload ลดลง ความดันต่ำ
2.เนื้อเยื่อมีนำออกซิเจนมาใช้ได้น้อยลง
3.มีอวัยวะล้มเหลวหลายอวัยวะ
3.2 ช็อกจากการแพ้รุนแรง :black_flag:
สาเหตุเกิดจากการมีปฏิกิริยาการแพ้
พยาธิสรีรภาพ
ผิวหนังมีผื่นแดงเป็นพิษ
หายใจลำบากเสียงลมหายใจมีเสียง wheezing
ความดันโลหิตต่ำกระสับกระส่ายหัวใจเต้นเร็ว
3.3 ช็อกจากการผิดปกติของระบบประสาท :black_flag:
สาเหตุด้านจิตใจ อวัยวะภายในถูกดึงรั้ง และการบาดเจ็บของไขสันหลัง
พยาธิสรีรภาพ
ความเครียด วิตกกังวล ทำให้สูญเสียการควบคุมระบบประสาทอัตโนมัติ
3.4 ช็อกจากต่อมไร้ท่อ :black_flag:
สาเหตุจากการหลั่ง cortisol ไม่พอ
พยาธิสรีรภาพ
ความดันต่ำ อาเจียนท้องเสีย ไม่ตอบสนองต่อการให้สารน้ำ
การประเมินสภาพของผู้ป่วยภาวะช็อก :red_flag:
การซักประวัติทำให้ทราบสาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
ลักษณะทางคลินิก ประเมินการหายใจ ผิวหนัง จำนวนปัสสาวะ และการตรวจทางห้องทดลอง
ภาวะแทรกซ้อนของภาวะช็อก :red_flag:
ระบบหายใจล้มเหลวเฉียบพลัน
ไตวายเฉียบพลัน
ภาวะลิ่มเลือดกระจายทั่วไปในหลอดเลือด
อวัยวะล้มเหลวหลายระบบ
อวัยวะในช่องท้องขาดเลือด
ข้อควรระวังในการพยาบาลผู้สูงอายุที่มีภาวะช็อก :red_flag:
การใช้ยาลดความดันโลหิต
ระบบภูมิต้านทานในผู้สูงอายุ
การทำงานของหัวใจลดลง
กล้ามเนื้อหายใจมีความแข็งแรงลดลง
มีการเปลี่ยนแปลงด้านการรับรู้
การเฝ้าติดตามกันไหลเวียนเลือดผู้ป่วยช็อค :red_flag:
การเฝ้าติดตามระหว่างการให้สารน้ำ
การประเมิน central venous pressure : CVP
การประเมิน pulmonary capillary wedge pressure : PCWP
4.การประเมิน Organ perfusion
การพยาบาล
ปัญหาการพยาบาลที่พบในผู้ป่วย :red_flag:
ปัญหาที่1 เสี่ยงต่อภาวะเนื้อเยื่อขาดออกซิเจน
ปัญหาที่2 เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์
ปัญหาที่3 เสี่ยงต่อการเกิดภาวะขาดสารอาหาร
ปัญหาที่4 เสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับ
ปัญหาที่5 เสี่ยงต่อการเกิดความรู้สึกสูญเสียพลังอำนาจ
ปัญหาที่6 เสี่ยงต่อการเกิดการรับรู้ความรู้สึกผิดปกติ
ปัญหาที่7 ผู้ป่วยและครอบครัวมีความวิตกกังวล
ปัญหาที่8 ไม่สุขสบายจากความเจ็บปวด
ปัญหาที่9 เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆเนื่องจากเกิดภาวะช็อก
นางสาว สร้อยฟ้า วงค์ชัย ชั้นปีที่3
รหัสนักศึกษา 116212201114-8