Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของเลือดและองค์ประกอบของเลือด, จัดทำโดย นางสาวจามจุรี มนตรีชน…
ความผิดปกติของเลือดและองค์ประกอบของเลือด
โลหิตจางระหว่างการตั้งครรภ์
(Anemia in pregnancy)
ความหมาย
ภาวะโลหิตจาง (anemia) หมายถึง การลดลงอย่างผิดปกติของระดับฮีโมโกลบินจากการสร้างเม็ดเลือดแดงน้อยลง
จากการทำลายเม็ดเลือดแดงเพิ่มมากผิดปกติ
• Hb < 10 gm/dl, Hct < 30 %
WHO : Hb < 11 gm/dl
การจำแนกภาวะโลหิตจาง
ภาวะเสมือนโลหิตจาง
• Physiologic anemia of pregnancy
• Hemodilution ของ hypersplenism
โลหิตจางจากการสร้างลดลง
• Iron defiency, Pure red cell aplasia
• Megaloblastic anemia, Aplastic anemia
โลหิตจางจากการเพิ่มทำลาย
• Thalassemia
• Sickle cell anemia
• Hemolytic anemia
Physiologic Anemia of pregnancy
สาเหตุ
การเพิ่มของปริมาตรพลาสมามากกว่ามวล
ของเม็ดเลือดแดง
ทำให้ระดับความเข้มข้นของฮีโมโกลบินลดลงในไตรมาสแรก และสอง
การรักษา
ให้ Ferrous
sulfate ขนาดเม็ดละ 300 มิลลิกรัม วันละ 1 เม็ด
ธาตุเหล็กวันละ 30-60
มิลลิกรัมก็เพียงพอในการป้องกันภาวะโลหิตจาง
โลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก (Iron deficiency anemia)
สาเหตุ
จากการรับประทานอาหารที่มี
ธาตุเหล็กไม่เพียงพอ
ธาตุเหล็กที่สะสมไว้ก่อนตั้งครรภ์ไม่เพียงพอ
การเสียเลือดเรื้อรังจากพยาธิปากขอ
โรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กแบ่งออกเป็น 3 ระยะ
• Iron stores depletion
• Iron deficiency erythropoiesis
• Iron deficiency anemia
ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก จะตรวจพบ Hb ต่ำลง เม็ดเลือดแดงตัวเล็กและติดสีจาง
การวินิจฉัย
ประวัติ ที่บ่งบอกได้ถึงความรุนแรงของโรค เช่น อาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย ซึม
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC : Hb., Hct., MCV
Diagnosis of IDA
• Microcytic-hypochromic
MCV <80fl, MCHC<30% , MCH <30 mch/L,
RC <4.1 mil/mm3 , PBS
• Evidence of depleted iron stores
• Low serum iron < 30 mcg/dl
• High total iron binding capacity (TIBC) > 350
mcg/dl
• Low transferrin saturation < 16 %
• Low serum ferritin <10-15 mcg/L
การป้องกันIron deficiency anemia
• แนะนำให้สตรีตั้งครรภ์ทุกรายควรได้รับการเสริมธาตุเหล็ก
60 mg ทุกวัน ตลอดการตั้งครรภ์
• ส่งเสริมการบริโภคอาหารที่อุดมด้วยธาตุเหล็ก
การรักษา Iron deficiency anemia
• การให้รับประทานธาตุเหล็กขนาดรักษาคือวันละ 200 mg
• การให้ธาตุเหล็กผ่านทางหลอดเลือดดำ
• การให้เลือด การให้ Packed red cell หรือ Whole blood
Thalassemia in pregnancy
ชนิดของ α - thalassemia
α - thalassemia
โฮโมซัยกัสแอลฟ่าธาลัสซีเมีย 1หรือฮีโมโกลบินบาร์ทไฮดรอปส์ฟีทาลิส
รุนแรงมากที่สุด มักเสียชีวิตตั้งแต่อยู่ในครรภ์หรือภายหลังคลอด :red_flag:
ฮีโมโกลบินเอช/ คอนสแตนต์สปริง
รุนแรงปานกลาง มีการเจริญเติบโตช้าไม่สมวัย มีอาการซีด ตา
เหลือง ตับ และม้ามโต และอาจพบนิ่วในถุงน้ำดี อาจต้องรักษาโดยการให้เลือด
โฮโมซัยกัสฮีโมโกลบินคอนสแตนต์สปริง
มีอาการน้อยมาก อาจพบซีดเล็กน้อย คลำพบม้ามโต
เล็กน้อย สามารถตรวจพบในเลือดได้โดยการตรวจชนิดของฮีโมโกลบิน (Hb typing)
ฮีโมโกลบินเอช
มีอาการน้อยมาก อาจพบซีดเล็กน้อย คล าพบม้ามโต
เล็กน้อย สามารถตรวจพบในเลือดได้โดยการตรวจชนิดของฮีโมโกลบิน (Hb typing)
ชนิด β – thalassemia
โฮโมซัยกัสเบต้าธาลัสซีเมีย
มี
อาการรุนแรงมาก
ต้องให้เลือดบ่อย
ให้ยาขับธาตุเหล็กทุกวัน
เบต้าธาลัสซีเมีย/ ฮีโมโกลบินอี
ผู้ป่วยจะมีรูปร่างและใบหน้าเป็นธาลัสซีเมีย ท้องโต
โฮโมซัยกัสฮีโมโกลบินอี
มีอาการซีดเพียงเล็กน้อย เมื่อตรวจเลือดจะพบเม็ดเลือดแดงมีลักษณะ
เหมือนเป้า (target cell) และติดสีจาง (hypochromia)
การแบ่งระดับของความรุนแรงของโรค
Thalassemia major (Transfusion-dependent thalassemia: TDT)
คือ กลุ่มที่มีอาการรุนแรง
จำเป็นต้องได้เลือดเป็นประจำ
รักษาระดับ Hb ให้อยู่ระหว่าง 9.5-10.5 g/dl ร่วมกับให้ยาขับธาตุเหล็กอย่างสม่ำเสมอ
Thalassemia intermedia (Non-transfusion dependent thalassemia: NTDT)
กลุ่มที่มีอาการ
รุนแรงน้อยถึงปานกลาง
ผลกระทบของ Thalassemia
ผลต่อมารดา
เกิด Pre-eclampsia
เสี่ยงต่อการตกเลือด
มีอาการทางโรคหัวใจ
ติดเชื้อได้ง่าย
ผลต่อทารก
Fetal distress
น้ าหนักน้อย, การเจริญเติบโตช้า
คลอดก่อนกำหนด
ทารกตายปริกำเนิด
อาการและอาการแสดงของ Thalassemia
เป็นพาหะ อาจมีอาการซีดเล็กน้อย หรือไม่มีอาการใดๆ ทำงานได้ตามปกติ
เป็นโรค
ซีด เหนื่อยง่าย ท างานหรือออกก าลังกายได้ไม่เท่าคนปกติ
เหลือง
ตับม้ามโต ท าให้ท้องป่อง อึดอัด
Thalassemia face (Mongoloid face) ลักษณะหัวตาห่าง โหนกแก้มสูง ขากรรไกรใหญ่ ดั้ง
จมูกแบน หน้าผากตั้งชัน
เติบโตไม่สมวัย พบโตช้า เตี้ย น้ าหนักน้อยกว่าปกติ bone age ล่าช้ากว่าปกติ
Infection ง่าย
Hemochromatosis พบผิวหนังคล้ำ เหล็กคั่งตามอวัยวะต่างๆ เช่นตับอ่อนเกิด DM , หัวใจ
เกิด Heart failure หรือ pericarditis , ต่อมไร้ท่อ เกิดการสร้า Hormone ผิดปกติ
การคัดกรองและการวินิจฉัย
การตรวจคัดกรองหญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์ครั้งแรก
การตรวจ Complete blood count: CBC
การตรวจค่าดัชนีเม็ดเลือดแดง (red blood cell indices) ประกอบด้วย
(MCV) ค่าปกติ 80-100 femtolitres (fl)
(MCH) ค่าปกติ 27-31 picograms (pg)
OFT (osmotic fragility test) เป็นการทดสอบความเปราะของเม็ดเลือดแดง
Positive เป็นพาหะ
Negative ไม่เป็นพาหะ
DCIP (dichlorophenol-indophenol precipitation test) เป็นสารละลายที่สามารถออกซิไดซ์ฮีโมโกลบิน
DCIP ให้ผลบวกแสดงว่า บุคคลนั้นมี unstable
hemoglobin เช่น HbE, HbH
DCIP ให้ผลลบแสดงว่า บุคคลนั้นไม่มี unstable
hemoglobin
การทดสอบโดยวิธีมาตรฐาน
6.1 การตรวจวิเคราะห์ชนิดและปริมาณฮีโมโกลบิน HbA2
A2A (HbA2) น้อยกว่าร้อยละ 4 จะเป็น α-thalassemia
A2A ร้อยละ 4-8 เป็น β-thalassemia
HbE (EA) น้อยกว่าร้อยละ 25 อาจจะเป็นพาหะ (HbE trait) ที่มีหรือไม่มี α-thalassemia
EA มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 80 เป็น Homozygous HbE ที่มีหรือไม่มี α-thalassemia
6.2 การตรวจ PCR เพื่อยืนยันการเป็นพาหะของ α-thalassemia 1 และ β-thalassemia
การวินิจฉัยทารกก่อนคลอดในรายที่คู่สมรสเสี่ยงต่อการเกิดโรค
7.1 การตัดชิ้นเนื้อรก (chorionic villous sampling; CVS)
7.2 การเจาะเลือดสายสะดือทารก (cordocentesis)
7.3 การตรวจคลื่นเสียงความถี่สูง (Doppler ultrasound)
7.4 การเจาะน้่าคร่่า
การพยาบาล
ก่อนตั้งครรภ์
การให้ค าปรึกษาก่อนตั้งครรภ์
การวินิจฉัยโรค
การประเมินอัตราเสี่ยง
การให้ข้อมูลเกี่ยวกับอัตราเสี่ยง
การให้ข้อมูลเกี่ยวกับโรค
การให้ข้อมูลเกี่ยวกับทางเลือกเพื่อหลีกเลี่ยง
การมีบุตรเป็นโรค
ระยะตั้งครรภ์
• ดูแลในคลินิกเสี่ยงสูง
• ส่งเสริมความรู้
• การพักผ่อน
• การรับประทานอาหาร
• การประเมินเด็กดิ้น
• การป้องกันการติดเชื้อ
• การให้ธาตุเหล็ก/ Folic acid
• ยุติการตั้งครรภ์
ระยะคลอด
• การพักผ่อน
• การได้รับสารน้ า/อาหาร
• Vital signs
• สุขภาพทารกในครรภ์
• การบรรเทาความเจ็บปวด
ระยะหลังคลอด
• เฝ้าระวังการตกเลือดหลังคลอด
• ดูแลให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
• ดูแลการพักผ่อนอย่างเพียงพอ
• อาหารที่มี Folic acid และที่มีโปรตีนสูง
• ป้องกันการติดเชื้อหลังคลอด
• การดูแล breast feedin
จัดทำโดย
นางสาวจามจุรี มนตรีชน รหัส 61113301014