Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
รูปแบบการ บำบัดทางจิตเวช - Coggle Diagram
รูปแบบการ
บำบัดทางจิตเวช
กิจกรรมบำบัด
ขั้นตอน
การจัดกลุ่ม
ขั้นเตรียมการ
ขั้นดำเนินการ
ขั้นดำเนินการกลุ่ม
ขั้นสิ้นสุดกลุ่ม
ขั้นเริ่มต้นกลุ่ม
ขั้นประเมินผล
บรรยากาศกลุ่ม
กระบวนการกลุ่ม
เนื้อหา
บทบาทผู้นำกลุ่ม และผู้ช่วยผู้นำกลุ่ม
หน้าที่ Leader
บุคลิกภาพและความมั่นใจ
ความรู้ในเรื่องที่จัดกิจกรรมกลุ่มบำบัด
ความสามารถในการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
ความสามารถในการเชื่อมโยงประเด็นสำคัญ
ความสามารถในการจัดการกับผู้ป่วย
ข้อด้อย
ผู้ป่วยอาจมีการโกหกเพื่อทำให้ตนเองมีคุณค่า
เรื่องที่คุยกันในกลุ่มอาจจะถูกนำไปคุยหลังกิจกรรมเสร็จสิ้น
หน้าที่ Co-leader
มีการประสานงานกันเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับผู้นำกลุ่ม
องค์ประกอบ
ของการจัดกลุ่ม
กิจกรรม
สถานที่
ผู้นำกลุ่มกิจกรรมบำบัด
ผู้ช่วยผู้นำกลุ่ม
สมาชิกกลุ่ม
ข้อดี
เกิดการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกัน
เกิดความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของสังคม
ประหยัดเวลา
บทบาทพยาบาล
เป็นผู้วางแผน ออกแบบสิ่งแวดล้อมให้มีความเหมาะสม
เป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้ป่วย
วางแผนจัดกลุ่มกิจกรรมบำบัดต่างๆ
ให้ความรู้แก้ผู้ป่วยและครอบครัว
จำกัดสิทธิหรือพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม
ความหมาย
การรวมตัวของผู้ป่วยอย่างน้อย
2 คนขึ้นไป มีปฏิสัมพันธ์กัน
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน
พฤติกรรมบำบัด
เทคนิคและ
วิธีการของ
พฤติกรรม
บำบัด
Self Monitoring
Reimforcement
Modeling Technique
Punishment
Shaping Teachique
Counter Conditioning
Assertive Training
กระบวนการ
รักษา CBT
การประเมิน
การเปลี่ยนความคิดที่ใช้อธิบายเหตุการณ์
การประเมินหลังการบำบัดและการติดตาม
การฝึกทักษะ
การสร้างเสถียรภาพของทักษะ และการฝึกประยุกต์ใช้ทักษะ
การประยุกต์ใช้โดยทั่วไป
หลักการ
การเรียนรู้เกิดจากการ
เชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้า
และการตอบสนอง
ขั้นตอน
การทำ
พฤติกรรม
บำบัด
วัตถุประสงค์
ตรงกับความต้องการของผู้ป่วย
ผู้ป่วยเต็มใจรักษา
ดำเนินการตามแผน
สามารถดำเนินการให้บรรลุได้
เลือกกลวิธีในการรักษาที่เหมาะสม
ประเมินผลและยุติการรักษา
การเก็บข้อมูลและทำ
Function Analysis
ลักษณะ
ของทฤษฎี
การเรียนรู้
การเรียนรู้ทางสังคม
การเรียนรู้โดยการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ
การเรียนรู้ด้วยการวางเงื่อนไขแบบดั้งเดิม
ความหมาย
มุ่งเน้นหารควบคุมพฤติกรรม
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่สังเกตได้
จิตบำบัด
ความหมาย
การรักษาด้วยวิธีการ
พูดคุยกับผู้ป่วยหรือ
บางวิธีอาจไม่ใช้วาจา
รูปแบบจิตบำบัด
จิตบำบัดแบบประคับประคอง
เพื่อบรรเทาอาการโดยแก้ปัญหาเฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่ง
เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยทนต่อภาวะตึงเครียด
เพื่อแก้ปัญหาหรือความขัดแย้งระดับจิตรู้สำนึก
เพื่อช่วยเพิ่มพลัง และประคับประคองให้แก่การทำงานของจิต
จิตบำบัด
แบบหยั่งเห็น
เพื่อแก้ปัญหาความขัดแย้งของจิตใจ
เพื่อแก้ไขกลไกทางจิตที่ทำให้เกิดพยาธิสภาพ
เพื่อให้เข้าใจความจริงของชีวิต
ใช้เวลาครั้งละ 20-50 นาที อาทิตย์ละ 1-2 ครั้ง
วิธีการบำบัดตาม
ทฤษฎีโรเจอร์ส
สร้างบรรยากาศให้การช่วยเหลือ
แสดงความเอื้ออาทรใส่ใจ
เปิดเผยเรื่องราวประสบการณ์
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ยอมรับสภาพปัญหาตามความเป็นจริง
ให้การยอมรับ
ผู้ป่วยปฏิบัติตามแนวที่กำหนด
ให้ความจริงใจ
การดำเนินกลุ่มจิตบำบัด
ระยะกลาง
ไถ่ถามหารายละเปียดของปัญหา
นำเหตุการณ์มาวิเคราะห์และแก้ไข
เป็นปัญหาปัจจุบัน
ใช้เวลา 4 ใน 6 ของเวลาทั้งหมด
นำปัญหาเข้าสู่ความสนใจของกลุ่ม
ระยะสุดท้าย
สรุปปัญหา ข้อเสนอแนะ
สรุปการเรียนรู้
ใช้เวลา 1 ใน 6 ของเวลาทั้งหมด
ระยะเริ่มต้น
ทำความรู้จักซึ่งกันและกัน
รู้วัตถุประสงค์ กฏกติกา
อุ่นเครื่อง
ใช้เวลา 1 ใน 6 ของเวลาทั้งหมด
องค์ประกอบ
การทำกลุ่มบำบัด
ให้ประสบความสำเร็จ
ทุกคนมีสิทธิที่จะป่วยเหมือนกัน
การได้ระบาย
การเข้าใจตนเอง
การรับผิดชอบตนเอง
สร้างความหวัง
การเห็นประโยชน์ของผู้อื่น
มีความสามัคคีของกลุ่ม
วิธีการของจิตบำบัด
การลดความอ่อนไหว
ให้ความเชื่อมั่น ให้กำลังใจ
ให้การสนับสนุน
การจัดการกับสิ่งแวดล้อม
ให้แนวทาง การแนะแนว
การแนะนำ
การระบายอารมณ์
การชักชวน จูงใจ
การหันความสนใจไปสู่ภายนอก
ชนิดของจิต
บำบัดกลุ่ม
กลุ่มปลุกเร้าความเก็บกด
กลุ่มแสดงออกอย่างเสรี
กลุ่มพบปะสังสรรค์
กลุ่มละครจิตบำบัด
กลุ่มการสอน
นิเวศน์บำบัด
ความหมาย
การจัดสิ่งแวดล้อมที่มุ่งส่งเสริมการบำบัดรักษา
องค์ประกอบ
บรรทัดฐานทางสังคม
ความสมดุล
โครงสร้าง
การจำกัดสิทธิและ
พฤติกรรมผู้ป่วยจิตเวช
มีภาวะเพ้อ มึนงง สับสน
มีความคิดหนีออกจากโรงพยาบาล
ทำร้ายร่างกายตนเองและผู้อื่น
มีพฤติกรรมรุนแรง
ความปลอดภัย
หลักการ
แนวคิด
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยได้มีโอกาสเรียนรู้จากสิ่งแวดล้อมรอบตัว
วิธีการจำกัดสิทธิ
และพฤติกรรมผู้ป่วย
จำกัดขอบเขต
การผูกยึดผู้ป่วย
การนำเข้าห้องแยก
การใช้ยา
จำกัดด้วยวาจา
กลุ่มกิจกรรมบำบัด