Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสื่อสารและการจัดกิจกรรมสำหรับเด็ก และวัยรุ่นที่เจ็บป่วย, นางสาวดวงฤทัย…
การสื่อสารและการจัดกิจกรรมสำหรับเด็ก
และวัยรุ่นที่เจ็บป่วย
ประเภทของวัตถุประสงค์ในการจัดกิจกรรมให้เด็กป่วยที่เข้ารับ การรักษาในโรงพยาบาล ต่อ
เพื่อการประเมินด้านอารมณ์ ความรู้สึก นึกคิด ความเข้าใจ
การวาดภาพ🖼 (Drawing) หรือการใช้ศิลปะ (Art) ⇒ การถ่ายทอด ความรู้สึก
(Projective techniques) ในการวัดสภาพทางอารมณ์ ของผู้ป่วยเด็กที่เข้ารับ
การรักษาในโรงพยาบาล
การเล่นบทบาทสมมติ🎭 (Dramatic play, Role play หรือ Symbolic play)
❇เด็กอายุ 3-5 ½ ปี ⇒ แสดงออกถึงความต้องการที่ถูกเก็บกดไว้ออกมา สะท้อนให้เห็นสัมพันธภาพ และประสบการณ์การรับรู้ความรู้สึกในการเอาชนะกับปัญหาและทราบวิธีการแก้ปัญหา
🎥📺 สื่อ ⇒ ตุ๊กตา เตียงตุ๊กตา การเล่นหูฟัง อุปกรณ์การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
กระบอกฉีดยา ผ้าปิดจมูก เสื้อกาวน์ หุ่นของแพทย์ พยาบาล แม่ พ่อ และเด็ก
3․เพื่อลดความเครียด ความกลัว ความวิตกกังวลในผู้ป่วยเด็กที่ได้รับหัตถการ
การจัดกิจกรรมการเล่นเพื่อเตรียมผู้ป่วยเด็กก่อนได้รับหัตถการ ⇒ การนำอุปกรณ์
ที่เป็นของเล่นมาให้ดูก่อน เพื่อให้เด็กเกิดความคุ้นเคย
Ex․ กระบอกฉีดยา หูฟัง ไม้กดลิ้น
การจัดกิจกรรมการเล่นเพื่อเบี่ยงเบนความสนใจขณะทำหัตถการ ⇒ ผ่อนคลาย ความเจ็บปวด ความกลัว และรู้สึกปลอดภัยในขณะทำหัตถการ
Ex․ มีตุ๊กตาแขวนที่เสาน้ำเกลือ สติกเกอร์รูปต่าง ๆ ให้เด็กเลือกตามความชอบ
เพื่อติดบริเวณที่ให้สารน้ำ
หลักการจัดกิจกรรมให้เด็กและวัยรุ่น
ที่เข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล
1)หลักการจัดกิจกรรมตามช่วงวัย
👶🏼 วัยทารก ⇒ ข้อจำกัดมากเพราะยังศักยภาพการสื่อสารและการปรับตัวต่ำ
ยังไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้อยู่ในภาวะพึ่งพิงสูง จะซึมซับเฉพาะเสียง
ความรู้สึก และกลิ่นที่คุ้นเคย
🪀🎠กิจกรรมในวัยทารก ⇒ การแขวนโมบายให้เด็กดู ตุ๊กตาที่มีเสียง
การจับมือสัมผัส ส่งจูบ จับปูดำ แมงมุมขยุ้มหลังคา เล่นจ๊ะเอ๋
🙋🏼♀️🙋🏼♂️เด็กวัยเรียน ⇒ เบื่อของเล่นง่าย และยังควบคุมอารมณ์ ยังไม่ดี การแสดงความโกรธจะรุนแรง
⚠ พฤติกรรมก้าวร้าวต่อพยาบาลและผู้ดูแล
⚽🎯กิจกรรมที่จัดให้ควรให้ใช้พลังงานระบายความก้าวร้าว (aggressive toys) Ex․ การตีกลอง หรืออุปกรณ์ทาง
การแพทย์พลาสติก
😷🤕 เด็กโรคติดเชื้อ ▶ อยู่ในห้องแยก ⚠ เรื่องการติดเชื้อ
🎥📺 สื่อกิจกรรมควรทำด้วยพลาสติก ยางหรืออื่น ๆ
ที่สามารถนำไปล้าง ต้ม นึ่ง และทำความสะอาดด้วย
น้ำยาฆ่าเชื้อได้
👩🏼🦱👩🏼 วัยหัดเดินและวัยก่อนเรียน ❇ เด็กวัยหัดเดิน⇒ ถูกจำกัดการเคลื่อนไหว
ต้องอยู่บนเตียงตลอด → รู้สึกอึดอัด เกิดความตึงเครียดทางอารมณ์ → จัดหา
ของเล่นหรือบอลเอาเชือกผูกแขวนไว้ให้ เด็กจะได้ใช้มือหรือเท้าที่เป็นอิสระ
จากเครื่องผูกมัด ปัด ถีบ ของเล่นก็จะช่วยบรรเทาความเครียด
❇ วัยก่อนเรียน ⇒ ไม่อยู่นิ่ง ๆ → กิจกรรมที่ใช้ได้ระบายพลังงาน
Ex․ ค้อนกับที่ตอกหรือที่ตี หรือของเล่นชิ้นไม่ใหญ่ 2-3 ชิ้น เพราะเด็ก
มี ความสนใจในช่วงสั้น ๆ ของเล่นหลายชิ้นจะใช้สลับเล่นไปมา
2) หลักการจัดกิจกรรมตามพยาธิ สภาพ อาการ ข้อจำกัดตามโรค
❤ โรคหัวใจ ⇒ กิจกรรมที่ไม่ต้องออกแรงมาก ไม่มีความเครียด
ไม่ตื่นเต้น Ex․ งานฝีมือ เขียนภาพ ปั้นดิน
💦โรคหอบหืดจากภูมิแพ้ ⇒ ของเล่นที่ทำด้วยยาง พลาสติก ไม้
❌หลีกเลี่ยงตุ๊กตาที่จากนุ่นและฝ้าย
🩸 โรคเลือดออกง่ายหยุดยาก (hemophilia) ⇒ หลีกเลี่ยงของเล่น ที่มีคมทุกชนิด 🔪 กิจกรรม = เล่นขีด ๆ เขียน ๆ ปั้นดิน อ่านหนังสือ กีฬา ⇒ ไม่ปะทะหรือกระแทก การเลี้ยงสัตว์ ❌ จำพวกที่อาจข่วน กัด ที่ก่อแผลเลือดออก
😃ปัญญาอ่อน ⇒ เด็กที่มี IQ อยู่ระหว่าง 50-75 เรียนชั้นประถมได้
🙂เด็กที่มี IQ อยู่ระหว่าง 39-49 ฝึกหัดให้ทำกิจวัตรประจำวันได้ (trainable)
😥เด็กที่มี IQ ต่ำกว่า 30 ดูแลตนเองไม่ได้
❇ เลือกกิจกรรมให้ทำต้องคำนึงถึงพัฒนาการทางร่างกายและทักษะต่าง ๆ
การเคลื่อนไหว และการใช้กล้ามเนื้อซึ่งต้องพิจารณาตามศักยภาพปัจจุบันของเด็ก
😡ปัญหาทางอารมณ์ ⇒ มีความสนใจช่วงสั้น ๆ หงุดหงิด งอแง มากกว่าปกติเคลื่อนไหวไปมาและวุ่นวายมากกว่าเด็กปกติ
🎠🎈ของเล่นที่เหมาะสมควร = บล็อกไม้ พวกยาง พลาสติก
ที่ไม่แตกหักง่าย
หลักการจัดกิจกรรมให้เด็กและวัยรุ่น
ที่เข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล
📝โรคลมชัก โรคเนื้องอกในสมอง ⇒ ไม่จัดกิจกรรม
ที่กระตุ้นเร้า ที่ทำให้เกิดความงง หรืออุปกรณ์ที่ แหลมคม มีแสงไฟแลบ หรือแตกหักง่าย
👁โรคไต ⇒ ตามองจะเห็นไม่ชัด ไม่ควรทำ กิจกรรมที่ต้องใช้อุปกรณ์เข้าใกล้ตา
🔪🧀โรคเบาหวาน ⇒ ระวังของเล่นที่แหลมคม → เกิดบาดแผลได้ง่าย
🦽พิการ ⇒ พิการแต่กำเนิด อุบัติเหตุ → ถูกรถชนแขนขาหัก ถูกไฟไหม้ น้ำร้อนลวก และผู้ป่วยที่เป็นโปลิโอ หรือโรคที่ทำให้กล้ามเนื้ออ่อนแรง
👂🏼หูหนวก ❌ควรทำกิจกรรมเสียงดังหรือควบคุมเสียงไม่ได้ → ตีกลอง หรือการตอกและตำของ ของเล่นที่ทำด้วยเหล็ก
👁ตาบอด ⇒ หลีกเลี่ยงอุปกรณ์ที่แหลมคม🔪 และมีขอบแข็ง ให้เล่นของ เล่นที่มีเสียงดัง หีบเพลง ฟังวิทยุ🔊
🦽เด็กที่พิการแต่กำเนิด โรคกระดูกและ พิการ (spina bifida, cerebral palsy)
⇒ การเคลื่อนไหวช้ามาก ไม่สามารถสำรวจสิ่งแวดล้อมได้ด้วยตนเอง
⇒ จัดกิจกรรมเพื่อกระตุ้นให้เด็กใช้กล้ามเนื้อทั้งหมด = อุปกรณ์ทีใช้อาจมีน้ำหนักเบา ๆ
Ex․บล็อกพลาสติก ❇ เน้นส่งเสริมความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และส่งเสริมความคิดความเข้าใจ เกี่ยวกับรูปร่าง ขนาด ความสูงความหนา
บทบาทของการพยาบาลใน การจัดการเล่น
ผู้วางแผน/ประสานเตรียมกิจกรรมให้เหมาะสมกับผู้บริการ
ตั้งวัตถุประสงค์การจัดให้ชัดเจน
จัดหาวัสดุอุปกรณ์ จัดสถานที่ที่เอื้ออำนวย กำหนดเวลา
จัดกิจกรรมหรือร่วมและสังเกตผู้รับบริการ
ให้คำแนะนำช่วยเหลือผู้รับบริการในขณะทำกิจกรรม
ประเมินผล และให้คำแนะนำผู้ดูแล
หลักการจัดกิจกรรมตามช่วงวัย (เพิ่มเติม)
อายุ 10-12 เดือน 🤡
⇒ ของเล่นที่จับทุบ เคาะกับพื้นได้ เล่นตบได้ 🎮
Ex․จ๊ะเอ๋ → ฝึกทักษะ การคงอยู่ของวัตถุ ฝึกกล้ามเนื้อและฝึกการสังเกต
⇒ การทำให้สิ่งของเคลื่อนที่ ให้เกาะเดิน → ฝึกทักษะการเดินช้า-เร็ว
อายุ 1-3 เดือน 🎊🎏
⇒ แขวนของเล่นสีสดใสมีเสียงดังเลื่อนไหวไปมาได้ → กระตุ้นสายตา
เห็นได้ในระยะ 1 ฟุต → เพลิดเพลิน คลายความเครียดได้
อายุ 4-5 เดือน ⇒ แขวนของเล่นหรือวางของเล่นที่เขย่ามีเสียงดัง → มือเอื้อมถึง ฝึกการฟังเสียง และการจับต้องด้วยฝ่ามือ ✋🏼
อายุ 5-8 เดือน ⇒ ชันคอได้ฟันเริ่มขึ้น 🦷 กัดของเล่น อม ขว้างปาได้ → เหงือกแข็งแรงและฝึกการหยิบจับ
อายุ 8-10 เดือน ⇒ ของเล่นที่คลานไปหยิบได้
Ex․ ลูกบอล ⚽ รถยนต์🚗 → คืบคลานตามสิ่งของที่ เคลื่อนที่ไป ให้เกาะ หัดยืน
นางสาวดวงฤทัย ใจบุญ
รหัสนักศึกษา 6203400086
หน้า 2