Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กจนถึงวัยรุ่นที่มีปัญหาการติดเชื้อHIV …
การพยาบาลเด็กจนถึงวัยรุ่นที่มีปัญหาการติดเชื้อHIV
-
ความหมาย
การติดเชื้อเอชไอวี เป็นภาวะที่ร่างกายได้รับเชื้อเอชไอวี แล้วทำให้ทีเฮลเปอร์ลิมโฟซัยต์
(T-helper lymphocyte) ถูกทำลายและมีจำนวนลดลงเป็นผลให้เกิดภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องและติดเชื้อต่างๆได้ง่าย โดยเฉพาะเชื้อฉวยโอกาส
เมื่อผู้ป่วยเด็กมีการติดเชื้อรุนแรงหรือติดเชื้อซ้ำๆ แสดงว่าเริ่มมีอาการเข้าสู่ระยะของโรคเอดส์
โดยอาจมีอาการแสดงช้าหรือเร็วขึ้นกับระดับภูมิคุ้มกันโรคของร่างกาย
อาการและอาการแสดง
1.กลุ่มที่เกิดอาการเจ็บป่วยรวดเร็วและรุนแรง อาจมีอาการตั้งแต่อายุ 2-3 เดือน ได้แก่ เลี้ยงไม่โต มีเชื้อราในช่องปาก อุจจาระร่วงเรื้อรัง ปอดอักเสบ เป็นต้น ทารกกลุ่มนี้ได้รับเชื้อตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดา และไวรัสทำลายการพัฒนาของระบบภูมิคุ้มกัน เด็กมักเสียชีวิตภายใน1-2 ปีแรก จากภาวะแทรกซ้อนทางปอด
2.กลุ่มที่มีการดำเนินโรคแบบค่อยเป็นค่อยไปความรุนแรงของโรคน้อยกว่า มักปรากฏอาการเมื่อเด็กอายุ
หลายปี ได้แก่ น้ำหนักตัวน้อย ตับม้ามโต ต่อมน้ำเหลืองโต ปอดอักเสบ ต่อมน้ำลายอักเสบ ผื่นคันบริเวณผิวหนัง เป็นต้น
พยาธิสภาพ
เชื้อเอชไอวีมีความสามารถในการติดเชื้อที่ T helper cell (CD 4+) ได้ดีกว่าเซลล์ชนิดอื่นโดยอาศัยการจับกันระหว่าง GP 120 ขอบเปลือกนอกของไวรัสกับ CD 4 molecule ที่อยู่บนผิวของT helper cell แบ่งตัวแล้วแยกตัวเป็นเซลล์เอชไอวีใหม่ออกมาจาก T helper cell และ T helper cell ก็จะถูกทำลายไป อีกกลไกหนึ่ง คือแอนติบอดี้ต่อเชื้อเอชไอวี จะจับเชื้อเอชไอวีแล้ว antibody-coated HIV จะถูกฟาโกซัยท์จับกินเข้าไปที่เชื้อเอชไอวีไม่ถูกทำลายในฟาโกซัยท์แต่จะอาศัยอยู่ในฟาโกซัยท์เลย เมื่อเชื้อเอชไอวีอยู่ในร่างกาย ระยะแรกอาจไม่มีพยาธิสภาพให้เห็น ต่อมาเมื่อ T helper cell
ลดลงจะมีผลทำให้เกิดความบกพร่องของภูมิคุ้มกันชนิดผ่านเซลล์ขึ้น
-
-
-
-
ข้อวินิจฉัย หลักการวินิจฉัยว่าเด็กติดเชื้อเอชไอวี จึงแบ่งกันเป็น 2 กลุ่มคือ อายุน้อยกว่า18 เดือน ต้องตรวจยืนยันการหาเชื้อเอชไอวี แต่เด็กที่อายุมากกว่า 18 เดือน ใช้การตรวจหาแอนติบอดีต่อเชื้อเอชไอวี 2 วิธีที่แตกต่างกัน
-
-
-
การพยาบาล
ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
เนื่องจากเบื่ออาหาร เหนื่อย ถ่ายเหลว มีการติดเชื้อราในช่องปาก
-
-
-
-