Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการบริหารเชิงพฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral Theory), นางสาววรรณพร…
ทฤษฎีการบริหารเชิงพฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral Theory)
ทฤษฎีแรงจูงใจของมาสโลว์ (Maslow’s Motivation Theory)
Abraham Maslow
นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน
ผู้พัฒนาทฤษฎีแรงจูงใจ (Motivation Theory)
มีสาระสำคัญ
1) มนุษย์มีความต้องการไม่สิ้นสุด
2) มนุษย์พยายามหาวิธีการต่างๆ ที่จะทำให้ตนเองได้รับในสิ่งที่ตนเองต้องการซึ่งความต้องการที่ยังไม่ได้รับการตอบสนองจะเป็นแรงกระตุ้นให้เกิดการแสดงพฤติกรรมและทำให้เกิดแรงแรงจูงใจของมนุษย์ ส่วนความต้องการที่ได้รับการตอบสนองแล้วจะไม่เป็นแรงจูงใจอีกต่อไป
3) ลำดับขั้นความต้องการของมนุษย์มี 5 ลำดับขั้นและมนุษย์จะมีความต้องการจากระดับต่ำไปสู่ความต้องการที่ระดับสูงกว่า
ขั้นที่ 1 ความต้องการทางกายภาพ (physiological needs) เป็นความต้องการพื้นฐานของมนุษย์เพื่อความอยู่รอด เช่น อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค อากาศ น้ำดื่ม การพักผ่อน เป็นต้น
ขั้นที่ 2 ความต้องการความมั่นคงและปลอดภัย (security needs)
คือความต้องการที่จะให้ชีวิตมีความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินคือความต้องการที่จะให้ชีวิตมีความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินความต้องการความมั่นคงในชีวิตและการงาน
ขั้นที่ 3 ความต้องการความรักและเป็นส่วนหนึ่งของสังคม (social needs/love and belongingneeds) เป็นความต้องการเป็นส่วนหนึ่งของสังคม ต้องการให้และได้รับซึ่งความรักและต้องการได้รับการยอมรับ
ขั้นที่ 4 ความต้องการการยอมรับนับถือ (self-esteem needs)เป็นความต้องการที่จะนับถือตนเองและได้รับการยกย่องในสังคม
ขั้นที่ 5 ความต้องการเติมความสมบูรณ์ให้ชีวิต (self actualization needs)เป็นความต้องการที่จะพัฒนาตนเองให้บรรลุศักยภาพสูงสุดที่ตนเองจะเป็นได้
เป็นแนวคิดทฤษฎีที่ศึกษาพฤติกรรมของบุคคลหรือการปฏิบัติงานของบุคคลในองค์การโดยมุ่งทำความเข้าใจเกี่ยวกับคนเป็นหลักและเน้นเรื่องคุณภาพของคนมากกว่าเรื่องงาน
ทฤษฎีสองปัจจัย (Two-Factor Theory)
พัฒนาโดย Frederick Herzberg
ประกอบด้วยปัจจัยจูงใจหรือปัจจัยที่เป็นตัวกระตุ้นในการทำงานและปัจจัยสุขอนามัยหรือปัจจัยที่ช่วยลดความไม่พึงพอใจในการทำงาน
ความสัมพันธ์ของความพึงพอใจที่เกิดจากแรงจูงใจตามองค์ประกอบของทฤษฎี 2 ปัจจัย
1) ปัจจัยจูงใจ (motivation factors)
เป็นปัจจัยภายในหรือความต้องการภายในของผู้ปฏิบัติงานซึ่งเป็นตัวกระตุ้นให้ผู้ปฏิบัติงานทำงานด้วยความพึงพอใจและเป็นปัจจัยที่จะนำไปสู่ทัศนคติทางบวกและการจูงใจที่แท้จริง
ประกอบด้วยปัจจัย 10 ด้าน
1) นโยบายและการบริหารขององค์การ (company policy and administration)
2) การบังคับบัญชาและการควบคุมดูแล (supervision)
3) ความสัมพันธ์กับหัวหน้างาน (interpersonal relations with supervision)
4) ความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน (interpersonal relations with peers)
5) ความสัมพันธ์กับผู้ใต้บังคับบัญชา (interpersonal relations with subordinators)
6) ตำแหน่งงาน (status)
7) ความมั่นคงในการทำงาน (job security)
8) ชีวิตส่วนตัว (personal life)
9) สภาพการทำงาน (working conditions)
10) ค่าตอบแทนและสวัสดิการ (compensations and welfares)
2) ปัจจัยอนามัย (hygiene factors)
เป็นปัจจัยที่ไม่สามารถสร้างแรงจูงใจให้เกิดขึ้นได้ซึ่งส่วนใหญ่เป็นปัจจัยพื้นฐานที่จำเป็นที่ต้องได้รับการสนองตอบเพราะถ้าไม่มีให้หรือให้ไม่เพียงพอแล้วจะทำให้ผู้ปฏิบัติงานเกิดความไม่พึงพอใจในการทำงาน
ประกอบด้วยปัจจัย 5 ด้าน
1) ความสำเร็จในการทำงาน (achievement)
2) การได้รับการยอมรับ (recognition)
3) ความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน (advancement)
4) ลักษณะงานที่ทำ (work itself)
5) ความรับผิดชอบ (responsibility)
ปัจจัยนี้อธิบายไว้ว่าเมื่อใดปัจจัยจูงใจลดลงต่ำกว่าระดับที่ควรจะเป็นอย่างมากประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการทำงานก็จะลดต่ำไปด้วย
แต่ในทางกลับกันถ้าปัจจัยอนามัยลดต่ำลงกว่าระดับที่ควรจะเป็นหรือขาดไปก็จะทำให้บุคลากรเกิดความไม่พอใจในการปฏิบัติงาน รู้สึกเบื่อหน่าย ท้อถอย และหมดกำลังใจในการทำงาน
นางสาววรรณพร สมรรถชัย รหัสนักศึกษา 62110214
นักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 3