Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การประเมินภาวะผู้สูงอายุ, แบบแผนที่ 3, แบบแผนที่ 4, แบบแผนที่ 5,…
บทที่ 4 การประเมินภาวะผู้สูงอายุ
เครื่องมือประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ
แบบประเมินภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ
Thai Geriatric Depression Scale : TGDS
การแปลผล
คนปกติ 0 – 12 คะแนน
ให้ขีด / ลงในช่องที่ตรงกับ “ไม่ใช่” ถ้าข้อความในข้อนั้นไม่ตรงกับความรู้สึกของท่าน
ให้ขีด / ลงในช่องที่ตรงกับ “ใช่” ถ้าข้อความในข้อนั้นตรงกับความรู้สึกของท่าน
การคิดคะแนน ข้อ 1 , 5 , 7, 9 ,15 , 19 , 21 , 27 , 29 , 30 ถ้าตอบ “ไม่ใช่” ได้ 1 คะแนน ข้อที่เหลือถ้าตอบ “ใช่” ได้ 1 คะแนน
การประเมินภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุ
Mini Nutritional Assessment (MNA)
การประเมินภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุมีแบบประเมินเบื้องต้นที่ใช้ในการประเมินปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะทุพโภชนาการ
การรวมคะแนนแบบสอบถามเบื้องต้น (คะแนนสูงสุด 14 คะแนน)
มากกว่าหรือเท่ากับ 12 คะแนน ภาวะโภชนาการปกติ ไม่จำเป็นต้องตอบแบบสอบถามหลักต่อไป
น้อยกว่าหรือเท่ากับ 11 คะแนน มีโอกาสเกิดภาวะทุพโภชนาการ ทำแบบประเมินหลักต่อ
แบบทดสอบสภาพสมองเบื้องต้น
Mini – Mental State Examination – Thai Version (MMSE – T)
แบบประเมินบ้าน (Home Safety Checklist)
Outside Checklist
Barrier-Free Checklist
Color Contrasting Test
Support and Safety
Minimal Effort Test
Lighting Checklist
แบบทดสอบวาดหน้าปัดนาฬิกา (CDT / Clock Drawing Test)
เตรียมกระดาษที่มีวงกลมเส้นผ่าศูนย์กลาง 10-12 ซม. พร้อมดินสอหรือปากกา บอกผู้สูงอายุ “ให้วาดรูปนาฬิกาโดยให้เขียนเลขให้ถูกต้อง และใส่เข็มสั้น-เข็มยาว โดยให้ชี้บอกเวลา 11 โมง 10 นาที”
เครื่องมือประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ
A. ดัชนีบาร์เธลเอดีแอล (Barthel ADL Index)
B. แบบประเมินความสามารถในเชิงปฏิบัติขึ้นสูง (Instrument Activities daily Living Index)
แบบประเมินภาวะสุขภาพตามแบบแผนในการทำหน้าที่ด้านสุขภาพของกอร์ดอน
แบบแผนการรับรู้เกี่ยวกับสุขภาพและการดูแลสุขภาพ แบบแผนอาหารและการเผาผลาญอาหาร แบบแผนการขับถ่าย แบบแผนกิจกรรมและการออกกำลังกาย แบบแผนการพักผ่อนและนอนหลับ แบบแผนสติปัญญาและการรับรู้ แบบแผนการรับรู้ตนเองและอัตมโนทัศน์ แบบแผนบทบาทและสัมพันธภาพ แบบแผนเพศและการเจริญพันธ์ุ แบบแผนการปรับตัวและความทนทานต่อความเครียด แบบแผนค่านิยมและความเชื่อ
ความหมายความสําคัญของการประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ
เป็นขั้นตอนเบื้องต้นของกระบวนการพยาบาล (nursing process) ช่วยให้พยาบาลได้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ส าคัญช่วยในการวางแผนการพยาบาล (planning) และนำไปสู่การเลือก การพยาบาล(implementation) ที่เหมาะสม และเป็นข้อมูลในการวางแผนการส่งเสริมสุขภาพ ฟื้นฟูภาวะสุขภาพผู้สูงอายุได้อีกด้วย
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health Assessment) หมายถึง การรวบรวมมาซึ่งข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลอย่างเป็นระบบโดยการประเมิน
การตรวจสอบเพื่อทราบถึงภาวะสุขภาพ อันได้แก่ สุขภาพร่างกาย จิตใจสังคม สิ่งแวดล้อมของบุคคลนั้นๆ ประกอบด้วย 2 ขั้นตอน คือ
การรวบรวมข้อมูล (Collecting data)
การวิเคราะห์ข้อมูล (Analyzing data)
วิธีการประเมินสภาพผู้สูงอาย
การประเมินภาวะโภชนาการในผู้สูงอาย
2.การวัดสัดส่วนของร่างกาย (anthropometric assessment)
3.การประเมินภาวะโภชนาการ Mini Nutritional Assessment (MNA)
1.การประเมินอาหารที่บริโภค (dietary assessment)
การประเมินสุขภาพจิต (Psychological Health Assessment)
2 การประเมินเชาว์ปัญญา (Cognitive function)
1 การประเมินภาวะซึมเศร้า (Depression)
การประเมินสุขภาพจิต (Psychological Health Assessment)
1 การประเมินภาวะซึมเศร้า (Depression)
2 การประเมินเชาว์ปัญญา (Cognitive function)
การประเมินความสามารถในเชิงปฏิบัติ (Functional Ability Assessment)
2 ดัชนีจุฬาเอดีแอล (Chula ADL Index)
3 Instrumental Activities of Daily Living (IADL)
1 ดัชนีบาร์เทลเอดีแอล (Barthel ADL Index)
4 Direct Assessment of Function Status Scale
การประเมินสิ่งแวดล้อม (Environmental Assessment)
1 แบบประเมินบ้าน (Home Safety Checklist)
2 แบบประเมินการพลัดตกหกล้ม (Risk fall in Hospital)
การประเมินทางสังคม(Social Functioning Assessment)
การรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ สัมพันธภาพในครอบครัวลักษณะครอบครัว เศรษฐานะ สายสัมพันธ์ทางสังคม ความเชื่อทางศาสนา สิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจ ระดับการศึกษา พฤติกรรม ความเชื่อทางสุขภาพ
แนวทางการประเมินสภาพตามแบบแผนสุขภาพของกอร์ดอน
แบบแผนที่ 1
การรับรู้เกี่ยวกับสุขภาพและการดูแลสุขภาพ หมายถึง ความคิดความเข้าใจบุคคลเกี่ยวกับภาวะสุขภาพตนเอง การดูแลสุขภาพตนเองซึ่งการดูแลสุขภาพนี้ครอบคลุมการรับรู้ภาวะสุขภาพ ความรู้ในการดูแลสุขภาพ พฤติกรรมป้องกันส่งเสริม รักษา ฟื้นฟูสุขภาพ
แบบแผนที่ 2
ด้านภาวะโภชนาการและการเมตาบอลิสม หมายถึง แบบแผนการรับประทานอาหารและน้ าของผู้สูงอายุหรือบริโภคนิสัย กระบวนการที่ร่างกายเผาผลาญและใช้สารอาหารและน้ำ การควบคุมน้ำและอิเล็กโทรลัยท์ในร่างกาย
แบบแผนที่ 3
ด้านการขับถ่าย หมายถึง แบบแผนและกระบวนการขับถ่ายของเสียทุกประเภทออกจากร่างกาย
แบบแผนที่ 4
ด้านการมีกิจกรรมและการออกกำลังกาย หมายถึงแบบแผนการประกอบกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจำวัน
แบบแผนที่ 5
ด้านการพักผ่อนนอนหลับ หมายถึง แบบแผนการนอนและกระบวนการนอนหลับ ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับปัจจัยส่งเสริม อุปสรรคที่มีผลต่อการนอนหลับ
แบบแผนที่ 6
บุคคลในการรับรู้สิ่งเร้า และการตอบสนองต่อสิ่งเร้า ความสามารถและการพัฒนาทางสติปัญญาด้านสติปัญญาและการรับรู้ หมายถึง ความสามารถของ
แบบแผนที่ 7
ด้านการรับรู้ตนเองและอัตมโนทัศน์ หมายถึง ความคิด ความเข้าใจความรู้สึกของบุคคลที่มีต่อตนเองในภาพรวม และในแต่ละคุณลักษณะ
แบบแผนที่ 8
ด้านบทบาทและสัมพันธภาพ หมายถึง กิจกรรมของบุคคลตามบทบาท และสัมพันธภาพของบุคคล
แบบแผนที่ 9
เจริญพันธุ์ พัฒนาการตามเพศและเพศสัมพันธ์ด้านเพศและการเจริญพันธุ์ หมายถึง ลักษณะการ
แบบแผนที่ 10
ด้านการปรับตัวและความทนทานต่อความเครียด หมายถึง การรับรู้ความเครียดและสาเหตุ วิธีจัดการ
แบบแผนที่ 11
แบบแผนด้านการมีคุณค่าและความเชื่อ หมายถึงภาวะความมั่นคงเข้มแข็งทางจิตใจ การรับรู้ของบุคคลเกี่ยวกับสิ่งที่มีคุณค่ามีความหมายต่อชีวิตตนเองเป้าหมายในการดำเนินชีวิตสิ่งยึดเหนี่ยวทางจิตใจ
Mild depress 13 – 15 คะแนน
Moderate depress 16 – 20 คะแนน
Severe depress > 20 คะแนน