Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคหัวใจระหว่างการตั้งครรภ์ (Heart Disease in Pregnancy), 69771425…
โรคหัวใจระหว่างการตั้งครรภ์
(Heart Disease in Pregnancy)
ชนิดของโรคหัวใจ
กลุ่มที่มีปริมาตรเลือดเกิน (Volume overload)
จากการมีช่องติดต่อระหว่างหัวใจ2 ห้อง
ถ้าไม่ได้รักษา
ส่งผล BP ลดลง
กลุ่มที่มีแรงดันสูง (pressure overload)
ทำให้มีเลือดออกในสมอง
หัวใจล้มเหลว
กลุ่มที่มีอาการตัวเขียว (Cyanosis)
เนื้อเยื่อได้รับเลือดไม่
เพียงพอ
ขาดออกซิเจน
โรคหัวใจรูมาติก (Rheumatic heart disease)
ลิ้นหัวใจข้างซ้ายตีบ
หัวใจต้องบีบตัวแรงขึ้น
ทำให้เกิดแรงดันในหัวใจห้องซ้ายบน
เกิดน้ำคั่งในปอด
โรคหัวใจที่มีภาวะความดันโลหิตสูง (Hypertensive heart disease)
โรคหัวใจขาดเลือด (Ischemic heart disease)
ไขมันอุดตันหลอดเลือด
ทำให้
กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
เกิดเนื้อตาย เสียชีวิตได้
ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจผิดปกติ (cardiomyopathy)
พบในรายที่เคยมีการอักเสบที่กล้ามเนื้อ
หัวใจ
ท าให้หัวใจโต จะพบหัวใจวาย
หัวใจเต้นผิดปกติ (Arrthymias)
ผู้ป่วยจะมีอาการหัวใจเต้นเร็ว
หรือเต้นช้าผิดปกติ
การจำแนกความรุนแรงของโรคหัวใจ แบ่งตาม NYHA (The New York Heart Association)
Class I Uncompromised
ทำกิจกรรมตามปกติ
ไม่มี
อาการอ่อนเพลีย หอบเหนื่อย ใจสั่น อาการเจ็บอก (angina pain)
Class II Slightly compromised
มีการจำกัดของ physical activity เล็กน้อย
และจะสบายเวลา
พัก
แต่ถ้าทำกิจกรรมตามปกติจะเริ่มมีอาการเหนื่อย ใจสั่น หรือ เจ็บอก (angina pain)
Class III Markedly compromised
มีการจำกัดของ physical activity มาก
และจะสบายเวลาพัก
แต่ถ้าทำกิจกรรมตามปกติเพียงเล็กน้อย
จะเริ่มมีอาการเหนื่อย ใจสั่น หรือ เจ็บอก (angina pain)
Class VI Severely compromised
ไม่สามารถทำ physical activity ใด ๆ
แม้ขณะพักก็จะมี
อาการหอบเหนื่อย ใจสั่น หรือ เจ็บอก ได้
ผลการตั้งครรภ์ต่อโรคหัวใจ
การทำงานของหัวใจที่หนักมาก
ให้เกิดภาวะหัวใจล้มเหลวเพิ่มขึ้น
Cardiac Output เพิ่มขึ้น
Heart rate จะเพิ่มขึ้น
blood volume จะค่อยๆเพิ่มมากขึ้น
Stroke volume โดยทั่วไปจะเพิ่มขึ้น
มีผลทำให้pulse pressure กว้างขึ้น
Functional class เปลี่ยนแปลงเลวลง
ผลของโรคหัวใจต่อการตั้งครรภ์
แท้งบุตร เนื่องจากทารกขาดออกซิเจน
คลอดก่อนกำหนด
IUGR
ทารกตายในครรภ์
ท าให้คลอดง่ายและเร็วเนื่องจากทารกตัวเล็ก
ทารกเกิดโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดในกรณีมารดาเป็นโรคหัวใจแต่กำเนิด
การวินิจฉัยโรค
การซักประวัติ
ซักถามอาการ เช่น เจ็บหน้าอก, หายใจลำบาก, เขียว, อ่อนเพลีย, palpitation, หรือ
การเปลี่ยนแปลงของผิวหนัง อาการเจ็บปวดต้องซักถามถึงระยะเวลา, ลักษณะ, ตำแหน่ง, การแผ่กระจาย, ปัจจัย
ที่บรรเทาปวด, ปัจจัยที่ทำให้รุนแรงขึ้น, อาการและอาการแสดงที่เกิดร่วมกับอาการปวด
ประวัติการรักษา
ประวัติครอบครัว
ประวัติทางสังคม เช่น การใช้แอลกอฮอล์, สูบบุหรี่, การใช้สารเคมี, ระดับการศึกษา, ระบบสนับสนุน
อาการและอาการแสดง
อาการที่สำคัญได้แก่ Severe or Progressive dyspnea, Progressive orthopnea, Paroxymal
noctonal dyspnea, Hemoptysis, Syncope with exertion, Chest pain related to effort or emotion
อาการแสดง ที่สำคัญได้แก่ Cyanosis, Clubbing of fingers, Persistent neck vein distension,
Systolic murmur greater than grade3/6, Diastolic murmur, Cardiomegaly, Sustained arrhythmia,
Persistent splint second sound, Criteria for pulmonary hypertension (Left parasternal lift, Lound P2
การตรวจพิเศษ
การตรวจคลื่นหัวใจ (Electrocardiography)
หัวใจมีLeft axis deviation
ะมีการเปลี่ยนแปลงเล็กน้อยของคลื่น ST
พบSignificant arrhythmias
พบ Atrial and Ventricular premature contraction พบ
Heart
blocks
ภาพรังสีทรวงอก (Chest X-ray)
หัวใจโตเล็กน้อย
หัวใจโตมาก
Pulmonary edema
Echocardiography
Exercise tolerance test
การใส่สายสวนหัวใจ (Cardiac catheterization)
การรักษาด้วยยาในโรคหัวใจในหญิงตั้งครรภ์
ยารักษาหัวใจล้มเหลว
Digoxin
ใช้รักษาภาวะหัวใจล้มเหลว
ใช้ร่วมยาขับปัสสาวะ
ระวังเรื่องภาวะโปแตสเซียมในเลือดต่่า (hypokalemia)
Hydralazine
ลด afterload ส่วน ACE inhibitor
ห้ามใช้ในสตรีมีครรภ์
Beta-blocker
ควบคุมความดันโลหิตและอัตราการเต้นหัวใจเช่น
labetalol
ยารักษาอาการหัวใจเต้นผิดปกติ
quinidine ใช้ในการรักษา atrial และ
ventricular tachycardia
เฝ้าระวังระดับยาในเลือด และปฏิกิริยากับ
warfarin
ยารักษาลิ่มเลือดอุดตัน
unfractionated heparin (UFH)
low-molecular weight heparin (LMWH)
warfarin
การดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคหัวใจในระยะต่างๆ
ระยะตั้งครรภ์
• ควรแนะนำให้มาฝากครรภ์ตั้งแต่ทราบว่าตั้งครรภ์Class I, II สามารถตั้งครรภ์
จนครบกำหนดได้
• การนัดตรวจครรภ์ ก่อน 28 wks นัด 2 wk ภายหลัง 28 wks นัดทุก 1 wks
• ควรได้รับการดูแลจากอายุแพทย์
• ประเมิน Functional class ทุกครั้ง
• ดูแลภาวะ anemia ถ้า hemoglobin น้อยกว่า 10.5 g/dL
• แนะนำให้นอนพักมากกว่า 10 ชม.
• ควบคุมน้ำหนักไม่เกิน 10 กก.
• แนะนำให้หยุดสูบบุหรี่หรือ สุรา
• ระมัดระวังการติดเชื้อ
• Functional class เลวลงให้นอน รพ.
ระยะคลอด
• เตรียมคลอด 1-2 wks ก่อนคลอด
• นอนในท่าตะแคงยกศีรษะสูงระยะรอคลอด
• การใช้ยาระงับปวด
• หากเกิดภาวะหัวใจล้มเหลว อาจพบ Pulmonary edema,
hypoxia และBP ต่ าต้องรักษาตามความรุนแรงของโรค
• Vital signs
• Fetal monitoring
• หากเกิด Premature labor pain >>>Inhibit
• วิธีการคลอด แนะนำให้คลอดทางช่องคลอด C/S ตามข้อ
บ่งชี้ทางสูติศาสตร์
• การจัดท่าคลอดในท่า Fowler position ในระยะคลอด
• ถ้าคลอดทางช่องคลอด ช่วยคลอดด้วย V/E or F/E
• ภาวะหัวใจล้มเหลว ต้องรักษาตามชนิดและความรุนแรง
ของโรค
• Vital signs
ระยะหลังคลอด
• การดูแลอย่างใกล้ชิดป้องกันการตกเลือด, ติดเชื้อ
• การให้นมบุตร
• การคุมกำเนิด
การดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคหัวใจ Class III, IV
•การอธิบายถึงภาวะเสี่ยง
•การทำแท้งเพื่อการรักษา
• Prostaglandin E2
• Oxytocin
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคหัวใจ
• การปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันไม่ให้หัวใจท างานหนักเพิ่ม
• เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยและครอบครัวซักถามและอธิบาย
• แนะนำการปฏิบัติตัว
• พักผ่อน
• ลดการทำงานปกติ
• อาหาร (ลดแป้ง ไขมัน เกลือ)
• ปรับพฤติกรรมทางเพศ
• เน้นมาฝากครรภ์
• ป้องกันการติดเชื้อ
• แนะนำการได้รับยา
• แนะนำการนับลูกดิ้น
ระยะรอคลอด
• ดูแลผู้คลอดอย่างใกล้ชิด
• นอนศีรษะสูง
• สังเกตอาการเริ่มต้นของหัวใจวาย
• Vital signs
• Antibiotic (benzatine penicillin, ampicillin)
• ยาเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของหัวใจ (Digoxine)
• การจัดเตรียมออกซิเจนและอุปกรณ์ช่วยเหลือ
• ดูแลการได้รับยา
• Antibiotic (benzatine penicillin, ampicillin)
• ยาเพิ่มประสิทธิภาพการท างานของหัวใจ (Digoxine)
• ยากล่อมประสาท
• ยาระงับอาการเจ็บครรภ์
• ยาขับปัสสาวะ
ระยะเบ่งคลอด
• นอนท่าศีรษะสูงแยกขาออกในแนวราบ
• ช่วยแพทย์ท าหัตถการ
• ฟังเสียงหัวใจทารก
• เตรียมช่วยเหลือทารก
ระยะคลอดรก
• กดหน้าท้องเหนือสะดือ
• ดูแลการได้รับยา oxytocin งด methergin
• ดูแลการได้รับเลือด
ระยะหลังคลอด
• ประเมินสัญญาณชีพ
• ดูแลให้พักผ่อน
• ดูแลให้ได้รับยา digitalis
• ดูแลให้ได้รับยา Antibiotic
• ดูแลการให้นมบุตร
• แนะนำการคุมกำเนิด
จัดทำโดย
นางสาวจามจุรี มนตรีชน รหัส 61113301014