Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรภาพของไตและระบบทางเดินปัสสาวะ, C16C4583-5DB3-4DA9-B51B…
พยาธิสรีรภาพของไตและระบบทางเดินปัสสาวะ
Anatomy of Renal system
ไต (Kidney)
ไตมี 2 ข้าง ซ้ายและขวา
อยู่บริเวณตำแหน่ง T12-L3, ขนาด 6
11
3 cm
เป็นRetroperitoneal organ
ชั้นของไต
ผนังหุ้มไต (Renal capsule)
ไตชั้นนอก (Cortex)
ไตชั้นใน (Medulla)
Calyx/calyces
กรวยไต (Renal pelvis)
หน่วยไต (NEPHRON)
เป็น anatomical unit of kidney function
Glomerulus
Renal corpuscle
Bowman capsule
Afferent & efferent arteriole
Renal tubule
loop’s of Henle
Distal tubule
Collecting duct
Proximal tubule
Vascular supply
หน้าที่ของไต (KIDNEY FUNCTION)
กรองของเสียออกจากร่างกาย
กำจัดน้ำส่วนเกินออกจากร่างกาย
เป็นต่อมไร้ท่อ (Hormonal regulation)
ควบคุมความดันโลหิต ผ่านระบบ Renin angiotensin
กระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดแดง ผลิต erythropoietin
ควบคุมปริมาณแคลเซียม ผ่าน hormone
• ท่อไต (ureter)
เป็น retroperitoneal structures ที่ต่อจาก renal pelvis ถึงกระเพาะปัสสาวะ (bladder)
มีความยาวประมาณ 25-30 cm
abdominal ureter จาก renal pelvis สู่ the pelvic brim
pelvic ureter : จาก the pelvic brim สู่ the bladder
intravesical or intramural ureter : ใน the bladder wall
• กระเพราะปัสสาวะ (Bladder)
เป็นอวัยวะมีลักษณะเป็นถุง ประกอบด้วยชั้นกล้ามเนื้อ วางในช่องท้องส่วนล่าง
มีลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยมพีระมิด
ขนาดความจุ 400 - 1000 ml
ประกอบด้วย Body , fundus, Trigone
ท่อปัสสาวะ (urethra)
Male urethra ยาวประมาณ 20 cm
Prostatic urethra (3-4 cm) ส่วนที่ออกจาก กระเพาะปัสสาวะ ผ่านเข้าไปอยู่ในเนื้อต่อมลูกหมาก (prostate gland)
Membranous urethra (1 cm) ส่วนนี้ออกจากเนื้อต่อมลูก หมาก ผ่านเข้าไปใน urogenital และ pelvic diaphragm
Penile urethra (U) ยาวประมาณ 15 cm ล้อมรอบ ด้วย corpus spongiosum ปลายสุดขยายกว้างเรียก fossa navicularis และเปิดออกที่ glan
Female urethra ความยาว 3-5 cm long
เส้นเลือดดำ เส้นเลือดแดงและระบบท่อน้ำเหลือง
(Renal a., vein, lymphatic drainage)
นิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ
(STONE/CALCULI)
นิ่วสามารถเกิดในระบบทางเดินปัสสาวะได้หลายรูปร่างและตำแหน่ง เช่น นิ่วรูปร่างเขากวาง (staghorn) มีทั้งประเภททึบแสง และไม่ทึบแสง ซึ่งไม่สามารถเห็นได้ด้วย X-ray
เกิดจากการตกผลึกของสารก่อนิ่วในปัสสาวะ ทำให้เยื่อบุไตอักเสบ รวมกับสารก่อนิ่วเป็นผลึกนิ่ว
แบ่งตามตำแหน่งการเกิด
นิ่วในทางเดินปัสสาวะ ส่วนบน; renal calyces, renal pelvis, ureter
นิ่วในทางเดินระบบปัสสาวะ ส่วนล่าง; bladder, urthra
แบ่งตามส่วนประกอบ
นิ่ว calcium oxalate ซึ่งพบได้ ร้อยละ 80
นิ่วกรดยูริค
อาการแสดง (clinical manifestation)
ปวดตื้อบันเอว
ปัสสาวะสะดุด
ปัสสาวะเป็นทราย/กรวด/เม็ดหิน
ตรวจร่างกาย (physical examination)
Palpate mass at male urthra
การส่งตรวจทางห้องปฎิบัติการ
Urine analysis : ส่องกล้องพบผลึกในรูปแบบต่างๆ
Film KUB : พบ abnormal opacity ใน urinary tract
การรักษา (Treatment)
การผ่าตัด
การใช้คลื่น shock wave ยิงสลายนิ่ว
การใช้ยาลดการเกิดนิ่ว/สลายนิ่ว
รักษาตามอาการ
ข้อแนะนำสำหรับการป้องกันการเกิดนิ่วในไต
ดื่มน้ำให้เพียงพอต่อความต้องการของร่างกายหลีกเลี่ยงภาวะขาดน้ำ
ไม่กลั้นปัสสาวะ เนื่องจากจะทำให้มีโอกาสตกตะกอนเกิดเป็นผลึกได้
ลดการรับประทานอาหารบางประเภท ที่มีสารหรือเกลือแร่มากเกินไป เช่น เครื่องในสัตว์ ชา น้ำอัดลม ผักบางชนิด (คะน้า ผักบุ้ง )
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
(URINARY TRACT INFECTION)
พบเป็นอันดับ 2 ของการติดเชื้อรองจาก URI
พบในผู้หญิง มากกว่า ผู้ชาย เนื่องจากท่อปัสสาวะสั้นกว่า
เชื้อก่อโรคที่มักเป็นสาเหตุ คือ Escherichia coli (E. coli) อาศัยในลำไส้ใหญ่
พบการติดเชื้อได้หลายตำแหน่ง
บริเวณท่อปัสสาวะ = urethritis
บริเวณกระเพาะปัสสาวะ = cystitis
บริเวณกรวยไต = pyelonephrtis
อาการแสดง (clinical manifestation)
ปัสสาวะแสบขัด (dysuria)
เบ่งปัสสาวะ
กลั้นปัสสาวะไม่ได้ (urgency)
ปวดท้องน้อย
ปวดบั้นเอว (flank pain)
ปัสสาวะขุ่น / มีฟอง / ปนเลือด
มีไข้
ตรวจร่างกาย (physical examination)
Tender at suprapubic are
CVA Tenderness positive
การส่งตรวจทางห้องปฎิบัติการ
Urine analysis
พบ leukoce+ve, nitrite+ve, WBC > 5 cell/mm3
oUrine culture
oFilm KUB
พบ abnormal opacity ใน urinary tract
การรักษา (Treatment)
Medical treatment
Antibiotic ให้ยาท่ีครอบคลุมเชื้อ gram negative เช่น กลุ่ม fluoroquinolone (ofloxacin, ciprofloxacin), กลุ่ม 3rd generation cephalosporin (Ceftriaxone)
Supportive เช่น ยาแก้ปวด
Nonmedical treatment
ดื่มน้ำให้เพียงพอ
รักษาความสะอาด ไม่สวมเสื้อผ้ารัดแน่น / อับชื้น
เช็ดทำความสะอาดบริเวณช่องคลอดจากหน้าไปหลัง
ไม่กลั้นปัสสาวะ
ล้างอวัยวะเพศ และปัสสาวะก่อนมีเพศสัมพันธ์
ปัสสาวะมาก ( Polyuria )
ปัสสาวะมากผิดปกติ
ค่าเฉลี่ยของปริมาณปัสสาวะในแต่ล่ะวันจะไม่เกิน 3 ลิตรในวัยผู้ใหญ่และไม่ควรเกิน 2 ลิตรในวัยเด็ก ไม่เก่ียวว่าจำ นวนครั้งท่ีปัสสาวะต่อวันจะมากหรือน้อย วัดเฉพาะปริมาณเท่านั้น
จึงจำเป็นต้องตรวจวัดด้วยการเก็บปัสสาวะตลอดทั้งวัน 24 ชั่วโมง เพื่อดูว่าแท้จริงแล้วปริมาณปัสสาวะมีเท่าไร หากเกินข้อกำหนดท่ีกล่าวไวข้างต้น ค่อยเข้ารับ การตรวจรักษาต่อไป
สาเหตุ
มีภาวะ Psychogenic polydipsia
ความผิดปกติในด้านพฤติกรรม คือ ติดนิสัยการทานน้ำปริมาณมาก
มีโรคเบาหวาน
มีภาวะโรคเบาจืด
การเสียสมดุลของน้ำในร่างกาย
โรคเกี่ยวกับไต
hypercalcemia ( ภาวะแคลเซียมสูงในเลือด )
chronic pyelonephritis ( ภาวะกรวยไตอักเสบ )
chronic hypokalemia ( ภาวะผิดปกติของค่าโพแทสเซียมในร่างกาย )
ประเภทของอาการปัสสาวะมาก
กลุ่ม Solute diuresis
เกิดปริมาณสารบางอย่างท่ีดึงน้ำออกจากร่างกายแล้ว กลายเป็นปัสสาวะโดยท่ีจะเป็นสาร electrolyte หรือ nonelectrolyte ก็ได้
กลุ่ม Water diuresis
เป็นภาวะท่ีปัสสาวะถูกขับออกมาเร็วกว่าปกติ ลักษณะจะเป็นของเหลวท่ีเจือจางมาก คือน้ำผ่านกระบวนการดูดซึมน้อยเกินไป ซึ่งจะต้องวินิจฉัยด้วยค่า urine osmolality < 250 mosm/kg
การตรวจวินิจฉัย
เก็บข้อมูลด้วยตัวเองเบื้องต้น ก่อนเข้าพบแพทย์
บันทึกความถี่ในการปัสสาวะ และสิ่งท่ีทำให้คิดว่าปริมาณปัสสาวะเพิ่มมากขึ้น
สังเกตสีและลักษณะอื่นๆ ของปัสสาวะ
สังเกตอาการปวดปัสสาวะช่วงเข้านอน ว่าต้องตื่นและลุก มาเข้าห้องน้ำกลางดึก หรือไม่ บ่อยแค่ไหน
การซักประวัติผู้ป่วย
ในช่วงเวลากลางคืนท่ีนอนหลับไปแล้ว เคยตื่นเพื่อลุก มาเข้าห้องน้ำหรือไม่ บ่อยมากแค่ไหน
เทียบกับเวลาปกติ อาการท่ีเกิดขึ้น คือ ปัสสาวะมากขึ้น หรือปัสสาวะบ่อยขึ้น
มีโรคประจำตัวอื่นๆ หรือไม่ เช่น โรคเบาจืด โรคเบาหวาน เป็นต้น
เคยมีความกระทบกระเทือนทางสมอง มีอุบัติเหตุหรือ โรคภัยท่ีเก่ียวข้องกับสมองหรือไม่
มียาอะไรท่ีใช้เป็นประจำหรือไม่
น้ำหนักตัว เพิ่มขึ้น หรือลดลงจนผิดสังเกตหรืไม่
ตรวจเลือด
Serum sodium
เป็นการตรวจวัดค่าโซเดียมท่ีอยู่ในน้ำเลือด ซึ่งเช่ือมโยงไปถึงสมดุลของน้ำในร่างกาย และค่า ADH ค่าที่วัดได้สามารถใช้เพื่อแยกแยะสาเหตุได้ 2 อย่าง คือค่าที่ได้ต่ำกว่าปกติ อาการปัสสาวะมากอาจมีสาเหตมุาจาก primary polyuria แต่ถ้าค่าที่ได้สูงกว่าปกติ ก็มักจะมีผลมาจาก DI
Serum potassium
เป็นการตรวจวัดค่าโปแตสเซียม ว่าอยู่ในภาวะสมดุลหรือไม่ เพราะมีผลโดยตรงต่อ
ความเข้มข้นของปัสสาวะ
Serum calcium
เป็นการตรวจวัดค่าแคลเซียมในเลือด ซึ่งอาจมีผลต่อการทำงานที่ผิดปกติของไต
Blood suger
เป็นการตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือด เน้น หนักในผู้ป่วยโรคเบาหวานเป็นพิเศษ
ตรวจปัสสาวะ
Urine specific gravity
การตรวจเบื้องต้น ที่ง่ายท่ีสุด เป็นการวัดค่าความถ่วงจำเพาะ หรือค่าความหนาแน่นของปัสสาวะเมื่อเทียบกับน้ำ ในคนปกติจะมีค่า Urine specific gravity อยู่ที่ 1.010 - 1.025 ถ้ามีค่า Urine specific gravity ต่ำกว่า 1.005 ก็มีแนวโน้มว่าจะมีอาการของ water diuresis
Urine osmolality
การตรวจวัดค่าความเข้มข้นของสารละลายในปัสสาวะ ปกติมีค่าอยู่ในช่วง 50-1200 mosm/kg หากตรวจพบมีค่าน้อยกว่า 250 mosm/kg ก็มีโอกาสที่จะเป็น water diuresis แต่ถ้าค่ามากกว่า 300 mosm/kg ก็น่าจะเป็น solute diuresis มากกว่า
Urine glucose
การตรวจหาน้ำตาลกลูโคสในปัสสาวะ เป็นการตรวจขั้นพื้นฐานในผู้ป่วยท่ีเป็นโรคเบาหวาน ถ้าในปัสสาวะมีน้ำตาลมาก ก็แสดงว่าร่างกายไม่สามารถดูดซึม หรือจัดการน้ำตาลได้ตามปกติ ในผู้ป่วยท่ีมีอาการปัสสาวะมากก็เกิดอาการเหล่านี้ได้
กระบวนการ Water deprivation test
โดยให้ผู้ป่วยอดน้ำพร้อมกับวัดปริมาณปัสสาวะ ทุก 1 ชั่ว โมง ขณะเดียวกันนี้ก็วัดค่า urine osmolality ไปด้วยจากนั้นก็ตรวจ serum sodium และ plasma osmolality เพิ่มอีกทกุ 2 ชั่วโมง
แนวทางการรัษา
กรณีผู้ป่วยมีภาวะ Center DI หรือมีภาวะเบาจืดท่ีเกิดจากความผิดปกติของฮอร์โมน ADH
Low solute diet : การใช้อาหารท่ีมีความเข้มข้นต่ำ เพื่อลดการขับปัสสาวะของร่างกาย
Desmopressin : เป็นการใช้สารสังเคราะห์ที่ทำหน้าท่ีเทียบเท่ากับฮอร์โมน ADH ในร่างกายโดยจะเริ่มท่ี 5 mcg ก่อน แล้วค่อยปรับค่าเพิ่ม หรือลดตามความเหมาะสม
ใช้ยาอื่นๆ ท่ีสามารถลดปริมาณปัสสาวะได้ ตัวอย่างเช่น carbamazepine,NSAIDs,thiazid diuretic เป็นต้น
กรณีท่ีผู้ป่วยเป็น Primary polydipsia ก็สามารถรักษาเบื้องต้นได้ง่ายๆ ด้วยการจำกัดน้ำและอาจใช้การรักษาในทางจิตเวชร่วมด้วย หากผู้ป่วยมีสัญญาณเก่ียวกับภาวะทางจิต
กรณีผู้ป่วยท่ีมีภาวะ Nephrogenic DI หรือภาวะเบาจืดจากความผิดปกติของหน่วยไต
Low sodium,Low protein diet
ใช้ยาในกลุ่ม amiloride ซึ่งเป็นยาขับปัสสาวะชนิดหนึ่ง โดดเด่นในเรื่องของการลดปริมาณน้ำ และเกลือแร่ในปัสสาวะ
Desmopressin : ใช้เมื่อรักษาด้วยแนวทางอื่นแล้วยังไม่ได้ผลท่ีน่าพอใจ
ปัสสาวะออกน้อย ( Oliguria and Anuria )
อันตรายจากภาวะปัสสาวะออกน้อย
จะทำให้เกิดน้ำคั่งภายในร่างกายมากเกินไป ค่าโซเดียมและแร่ธาตุอื่นๆ ท่ีควรขับออกก็ไม่ ถูกขับออก ร่างกายจึงบวมน้ำความดันโลหิตสูง กลายเป็นว่าคอยสะสมของเสียต่างๆอยู่ตลอดเวลา และเมื่อมีของเสียมากสมดุลร่างกายก็เสียไป ย่ิงปล่อยไว้นานเท่าไรก็ย่ิงแพร่กระจายความเสียหายของระบบสมดุล
AKI (Acute kidney injury)
เป็นภาวะไตวายเฉียบพลัน ไตเกิดการเสียสมดุลไปจนถึงเสียประสิทธิภาพในการทำงานไปอย่างรวดเร็ว
Intrinsic AKI
การเกิดพยาธิสภาพบริเวณ renal parenchymal โดยจะเกิดข้ึนที่ส่วนไหนก็ให้ผลลัพธ์เหมือนกันหมดไม่ว่าจะเป็น tubule,tubulointerstitial,glomerular,vascular เป็นต้น
Post-renal AKI
เป็นอาการอุดตันบริเวณ bladder outlet และการอุดตัน ที่ทางเดินปัสสาวะข้างเดียวหรือ สองข้าง สามารถตรวจวินิจฉัย ได้ง่าย โดยการใช้อัลตร้าซาวด์ หากเป็นการขยายตัวของท่อไตก็คาดคะเนไว้ก่อน ได้ว่า มีการอุดตันเกิดข้ึน
Pre-renal AKI
เป็นภาวะที่ effective arterial blood volume ลดลงอย่างรวดเร็ว มักเกิดกับผู้ป่วยท่ีมีการเสีย
เลือด หรือเสียน้ำอย่างมาก เมื่อร่างกายขาดสมดุลของน้ำ และเลือด ส่ิงท่ีจะส่งต่อเพื่อไปหล่อเลี้ยงการทำงานของไตก็ลดลง จึงเกิด AKI ข้ึน
Sepsis-associated AKI
การติดเชื้อในกระแสเลือด ซึ่งมีผลทำให้เกิดความเสี่ยงต่อ AKI มากถึง 50 เปอร์เซ็นต์ เมื่อมีการติดเชื้อในระบบเลือด ก็จะเกิด arterial vasodilation และ renal vasoconstr iction ตามมา นอกจากน้ียังมีการบาดเจ็บที่ส่วนต่างๆ ของเซลล์อีกด้วย
Postoperative AKI
ส่วนใหญ่เป็นภาวะที่เกิดมาจากการผ่าตัด หากเป็นการผ่าตัดใหญ่ท่ีต้องเสียเลือดจำนวนมาก ร่างกายก็ขาดสมดุล ความดันโลหิตต่ำกว่ามาตรฐาน ก็จะส่งผลให้เข้าสู่ภาวะ AKI ได้ง่าย หากเกิด AKI พร้อมกับมีภาวะเป็นพิษควบคู่กัน ไปก็จะทำให้การรักษายุ่งยากข้ึนอีกระดับ
Burn and acute pancreatitis
กรณีน้ีจะเป็นการสูญเสียน้ำปริมาณมาก อย่างฉับพลัน ทำ ให้ตับอ่อนเกิดการอักเสบ ส่วนใหญ่มักเป็นผู้ป่วยท่ีมีอาการผิวไหม้ หรือภาวะ BURN มากกว่า 10 เปอร์เซ็นต์ ของพื้นท่ีผิวหนังทั้งหมดในร่างกาย นอกจากการเสียน้ำแล้ว แผลเหล่าน้ีก็ยังเสี่ยงต่อการติดเชื้อ ซึ่งเพิ่มอัตราการเกิด AKI ได้มากข้ึน
Nephrotoxic drug associated AKI
เป็นผลกระทบของการใช้ยาต่างๆเช่น aminoglycoside,amphoterincin B เป็นต้น
Endogenous toxin
เป็นอาการติดพิษจากสารท่ีร่างกายสร้างข้ึนมาเองเช่น myoglobin,hemoglobin,uricacid และ myeloma light chain อาการ Endogenous toxin จะทำให้ท่อไตบาดเจ็บและปัสสาวะมีความเป็นด่างสูงกว่าท่ีควรจะเป็น
Tumor lysis syndrome
เป็นอาการที่เกิดข้ึนหลังจากการบำบัดด้วยเคมี หากการ บำบัดนั้นกระตุ้นให้มีการหลั่ง uric acid ออกมาในปริมาณมากก็จะทำให้เสียสมดุลของ uric acid ในท่อไตและปัสสาวะท่ีออกมาก็กลายเป็นสภาพด่างที่ผิดปกติ
ผลกระทบ
• มีอาการบวมของร่างกาย โซเดียมและแร่ธาตุต่างๆ เพิ่ม ข้ึนสูงเกินกว่าระดับที่ร่างกายต้องการ เน้ือเยื่อต่างๆ จึงเกิดอาการบวมข้ึน
• ระดับฮอร์โมนอดรีนัลเพิ่มข้ึนสูงกว่าปกติ ซึ่งฮอร์โมนตัวน้ีมีหน้าที่หลักในการควบคุมการทำงานของกลุ่มท่อต่างๆ ภายในหน่วยไต เมื่อมีฮอร์โมนอดรีนัลมากไป การดูดกลับ ของโซเดียมก็มากข้ึน
• มีการหลั่งสารเรนินจากเซลล์ผนังหลอดเลือดในส่วนของไตมากข้ึน ส่งผลให้ตับจำเป็นต้องสร้างแอนจิโอเทนซินวัน ข้ึนมา แล้วผ่านกระบวนการเปลี่ยนโครงสร้างเล็กน้อย กลายเป็นสารที่กระตุ้นการหดตัวของหลอดเลือด ความดัน เลือดจึงสูง และส่งผลวนไปจนถึงส่วนไต ทำให้ไตดูดกลับ โซเดียมมากข้ึน
• เกิดนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ ถ้ารุนแรง เรื้อรังไปเรื่อยๆ ก็จะทำให้กลายเป็นอาการปัสสาวะออกน้อย
การตรวจร่างกายและวินิจฉัย
ประวัติการใช้ยา
ความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยและติดเชื้อ
ประวัติการสูญเสียน้ำออกจากร่างกาย ในช่วงระยะท่ีผิดปกติเป็นอย่างไร
คลื่นไส้อาเจียน
เลือดออกผิดปกติ
ท้องเสีย
ประวัติเก่ียวกับไต
ลักษณะของปัสสาวะ
ประวัติโรคมะเร็ง
มะเร็งลำไส้
มะเร็งมดลูก
อาการข้างเคียงอื่นๆ
ปวดปัสสาวะที่ผิดปกติ
หน่วงบริเวณช่องท้อง
การรักษา
ป้องกันและลดอัตราการสูญเสียน้ำของร่างกายในทุกกรณี
ดูแลเรื่องสารอาหารให้สมดุล เน้นผลไม้
ทานน้ำให้มากขึ้น โดยค่อยๆ เพิ่มทีละนิดๆ
ไม่อั้นปัสสาวะเป็นเวลานาน
การใช้ยาและการบำบัดเชิงเทคนิคในทางการแพทย์ที่ค่อนข้างเฉพาะเจาะจง
การขับของเสียออกจากร่างกายด้วยเครื่องมือแพทย์
การใช้ยาเพื่อปรับสมดุลฮอร์โมนที่ผิดปกติไปจากเดิม
การป้องกัน
ปรับแก้ที่ต้นเหตุ คือ การทานน้ำให้มาก เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย และเข้าห้องน้ำทุกครั้งที่รู้สึกปวดปัสสาวะ ไม่อั้นเอาไว้ หลังจากเข้าห้องน้ำหรือสูญเสียน้ำในทางอื่น เช่น เหงื่อ น้ำตา น้ำเลือด เป็นต้น ก็ให้ดื่มน้ำชดเชยทันที เพื่อไม่ให้ร่างกายเสียสมดุลของน้ำ
โรคกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
ปัสสาวะบ่อยมาก ทั้งกลางวัน กลางคืน ปวดกลั้นมากขณะท่ีจะไปห้องน้ำ จนบ่อยครั้งหรือบางครั้งกลั้นไม่อยู่ราดออกไปก่อน
สาเหตุ
ในสตรีเพศเป็นเพราะว่ากล้ามเน้ืออุ้งเชิงกรานหย่อนลง บางทีเรียก กันว่ากระบังลม (เชิงกราน) หย่อน
ประเภท
ปัสสาวะกลั้นไม่อยู่ที่เป็นมาแต่กำเนิด (Congenital)
ปัสสาวะรดท่ีนอน (Bed Wetting Enuresis)
ปัสสาวะเล็ดเมื่อออกแรงเบ่ง (Stress Urinary Incontinence)
ปัสสาวะราดกลั้นไม่ได้ (Urge Incontinence)
ปัสสาวะเล็ดและราดร่วมกัน (Mixed Incontinence)
ปัสสาวะล้นซึม (Over Flow Incontinence)
ปัสสาวะบ่อยมากในช่วงกลางวัน (Urinary Freguency Daytime)
ปัสสาวะบ่อยในช่วงเวลากลางคืน (Nocturia Night Time)
ปัสสาวะปวดกลั้น (Urgency)
กระเพาะ , ปัสสาวะไวเกิน (Over Active Bladder)
ปัสสาวะกลั้นไม่อยู่ จากระบบประสาท (Neurogenic)
การตรวจวินิจฉัยและการรักษา
ซักถามประวัติ และอาการปัจจุบันอย่างละเอียด
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต รวมทั้งโรคท่ีเป็นอยู่ถึงปัจจุบัน
โรคความดัน เบาหวาน หัวใจ ระบบประสาท รวมทั้งการผ่าตัดรักษา และอุบัติเหตุท่ีส่งผลถึงระบบทางเดินปัสสาวะ
ประวัติการคลอดบุตร และในเพศชายเน้นอาการ โรคต่อมลูกหมากโต รวมทั้งระบบทางเพศ และฮอร์โมน ฯลฯ
ประวัติการใช้ยารักษาในปัจจุบัน โดยเฉพาะยาขับ ปัสสาวะ ยานอนหลับ กล่อมประสาท เป็นต้น
สภาพทางจิตใจและอารมณ์ ฯลฯ
อาชีพความเป็นอยู่ทางสังคม ฯลฯ
อาหารและน้ำดื่ม เครื่องดื่ม น้ำชา กาแฟ แอลกอฮอล์ บุหรี่ ฯลฯ
การออกกำลังกาย พักผ่อน นอนหลับ
การตรวจวินิจฉัยทางการแพทย์
ตรวจปัสสาวะ เพื่อตัดปัญหาการอักเสบ
ตรวจสอบความแรงของสายปัสสาวะ (Uroflowmetry, Residual Urine)
ตรวจส่องกล้องกระเพาะปัสสาวะ ถ้าจำเป็น
ตรวจระบบประสาททางเดินปัสสาวะ ถ้าจำเป็น (Urodynamic)
การรักษา
การบริหารฝึกฝนกล้ามเนื้ออุ้งกราน Kegel Exercise
การบริหารทานยา
การผ่าตัดรักษาผ่านบริเวณช่องคลอด
ปัสสาวะคั่งค้าง (Urinary Retention)
ภาวะท่ีไม่สามารถขับปัสสาวะได้ตามปกติ แม้ว่ารู้สึกปวดปัสสาวะมาก หรืออาจต้องใช้เวลาเบ่งปัสสาวะนานกว่าจะออก
อาการ
ปัสสาวะไม่ออกเฉียบพลัน (Acute Urinary Retention)
ปวดปัสสาวะ แต่เบ่งหรือปัสสาวะไม่ออก
ปวดแน่นท้อง รู้สึกไม่สบายบริเวณท้องช่วงล่าง
ท้องอืด บริเวณท้องช่วงล่าง
ปัสสาวะไม่ออกเรื้อรัง (Chronic Urinary Retension)
ถ่ายปัสสาวะไม่สุด
มีอาการแสบขัดขณะปัสสาวะ
ปัสสาวะบ่อยมากกว่า 8 ครั้งข้ึนไปต่อวัน
ต้องออกแรงเบ่ง ให้ถ่ายปัสสาวะออก
ปัสสาวะสะดุด น้ำปัสสาวะท่ีออกมาหยุดเป็นช่วงๆ หรือไม่พุ่งเป็นสาย
ปวดปัสสาวะอีกครั้งหลังจากเพิ่งปัสสาวะเสร็จ
รู้สึกแน่นท้อง หรือปวดบริเวณท้องช่วงล่าง
บางรายอาจไม่พบอาการผิดปกติใดๆ
สาเหตุ
ท่อปัสสาวะอุดตัน
ต่อมลูกหมากโต (Benign Prostatic Hyperplasia : BPH) เป็นสาเหตุที่พบมากในผู้ชาย ส่วนใหญ่อยู่ในช่วงอายุ 50-60 ปี
อวัยวะภายในอุ้งเชิงกรานหย่อน (Genitourinary Prolapse) ในผู้หญิง
ท่อปัสสาวะตีบแคบ (Urethral Stricture)
ท้องผูก
นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
ความผิดปกติของผนังช่องคลอดด้านหน้าหย่อน หรือกระเพาะปัสสาวะยื่นย้อย (Cystocele)
ไส้ตรงยื่นย้อย (Rectocele)
เน้ืองอกหรือมะเร็งบางชนิด อาจเกิดข้ึนในกระเพาะปัสสาวะหรือท่อปัสสาวะ
เป็นอาการหลังการผ่าตัด ซึ่งอาการจะดีหลังจากหมดฤทธ์ิยาชา
ระบบประสาท
โรคเบาหวาน
โรคหลอดเลือดสมอง
โรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง หรือโรคเอ็มเอส (Multiple Sclerosis:MS)
การบาดเจ็บบริเวณอุ้งเชิงกราน
โรคท่ีทำให้เกิดความผิดปกติของระบบประสาทส่วนที่เกี่ยวข้องมาตั้งแต่กำเนิด เช่น ความผิดปกติของเส้นประสาทไขสันหลัง (Spina Bifida)
พิษจากโลหะหนัก
การคลอดบุตรทางช่องคลอด
การใช้ยา
ยารักษาอาการซึมเศร้าบางตัว โดยเฉพาะยากลุ่มไตรไซคลิก (Tricyclic Antidepressants:TCA)
ยาคลายกล้ามเน้ือ เช่น Diazepam , Baclofen
ยาในกลุ่ม Antimuscarinic Drug หรือยาลดอาการบีบเกร็ง (Antispasmodic Drug) สำหรับบรรเทาอาการปวดท้อง ลดการหดเกร็งของกล้ามเน้ือ ยารักษาภาวะกระเพาะ ปัสสาวะบีบตัว ไวเกิน (Overactive Bladder) หรือภาวะกลั้นปัสสาวะไม่ได้ เช่น Oxybutynin , Hyoscyamine
ยากลุ่มแก้แพ้ ลดน้ำมูก หรือยาต้านแอนติฮิสตามีน เช่น Ephedrine , Chlorpheniramine , Diphenhydramine , Fexofenadine
กล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะอ่อนแรง
การวินิจฉัย
สอบถามอาการผิดปกติของการถ่ายปัสสาวะ การใช้ยา ประวัติทางแพทยอื่นๆ
การตรวจร่างกาย
ผู้ชาย ตรวจต่อมลูกหมาก
ผู้หญิง ตรวจภายใน
วัดปริมาณปัสสาวะที่ตกค้าง (Post-Voiding Residual Volume)
ส่องกล้องทางเดินปัสสาวะ (Cystoscopy)
เอกซเรย์คอมพิวเตอร์ หรือ CT-scan
การตรวจพลศาสตร์ระบบทางเดินปัสสาวะ (Urodynamic Study)
การตรวจ Magnetic Resonance Imaging : MRI
การตรวจคลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้อ หรือ Electromyography
การตรวจอื่นๆ
การตรวจเลือดดูการทำงานของไตหรือการติดเชื้อ
การตรวจปัสสาวะดูความผิดปกติของสารในร่างกาย
การรักษา
การระบายนํ้าปัสสาวะ (Bladder Drainage)
การใช้ยา
การผ่าตัด
ภาวะแทรกซ้อน
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
กระเพาะปัสสาวะเสียหายหรือทำงานผิดปกติ
ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่ได้
ไตทำงานผิดปกติ
การป้องกัน
ไม่สามารถป้องกันได้เต็มที่ แต่อาจลดความเสี่ยงได้ด้วยการรักษาโรคต้นเหตุให้หายขาด
ภาวะโปรตีนในปัสสาวะ
หมายถึง การตรวจพบ proteine หรือ albumin ในปัสสาวะสาเหตุจากโรคไต การรับประทานยาบางชนิด
Protein ในเลือดส่วนใหญ่เป็น Albumin เป็นส่วนประกอบของเน้ือเยื่อต่างๆ ของร่างกาย เช่น กล้ามเน้ือ กระดูก ผม เล็บ และหน้าที่อื่นๆ เช่นทำให้เลือดแข็งตัว เป็นภูมิคุ้มกัน โรค เมื่อเลือดผ่านเข้าไต Proteinuria มีโมเลกุลใหญ่ไม่สามารถกรองผ่านไตได้ ดังนั้นจึงตรวจไม่พบ Proteinuria ในปัสสาวะ
ปกติปัสสาวะของคนจะตรวจไม่พบโปรตีน Protein โปรตีน การตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะ บ่งบอกว่าเร่ิมจะเกิดโรคไต หากไม่ตรวจแต่แรกก็อาจจะกลายเป็นโรคไตเสื่อม และในท่ีสุดกลายเป็นโรคไตวายเรื้อรัง การตรวจปัสสาวะเพื่อหา Albumin ในผู้ป่วยบางโรค เช่น โรคเบาหวาน ความดัน โลหิตสูง จึงมีความจำเป็น
วิธีการตรวจโปรตีนในปัสสาวะ
โดยการใช้แทบตรวจปัสสาวะจุ่มในปัสสาวะ แล้วเทียบสี จะตรวจพบโปรตีนเมื่อมี ปริมาณโปรตีน 300-500 มก
ข้อเสีย คือ ไม่สามารถวัดปริมาณโปรตีน
วัดปริมาณ Protein ท่ีขับออกมาตลอด 24 ชั่วโมง โดยการเก็บปัสสาวะตลอดทั้งวัน
การตรวจปัสสาวะหาค่า Protein Creatinine
ค่าอัตราส่วน Protein/Creatinine ค่าปกติจะน้อยกว่า 0.2
ค่าอัตราส่วน Albumin/ Creatinine ค่าปกติจะน้อยกว่า 30 mg/g creatinine หาค่า ดังกล่าวอยู่ระหว่าง 30-300 แสดงว่ามีโปรตีนออกมาในปริมาณไม่มาก หากมากกว่า 300 mg/g แสดงว่าโปรตีนออกมาม
ผู้ที่เสี่ยงต่อการเกิดโปรตีนในปัสสาวะ
ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ทั้งชนิดที่ 1 และชนิดที่ 2
ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
ผู้ป่วยโรคไตอักเสบ
ปัจจัยที่มีผลต่อโปรตีนในปัสสาวะ
การออกกำลังกาย
ภาวะหัวใจวาย
การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
การใช้ยา NSAID,aceI,ARB
มีไข้
คนอ้วน
ประเภท
โปรตีนในปัสสาวะที่หายเองได้ Transient proteinuria พบในคนที่มีไข้ หรือออกกำลังกาย อยู่ในท่ีหนาวหรือมีความเครียด โปรตีนน้ีหายได้เอง เมื่อภาวะท่ีกระตุ้นหายไป ภาวะน้ีจะไม่กลายเป็นไตวายปริมาณโปรตีนมักจะน้อยกว่า 1 กรัมต่อวัน
โปรตีนในปัสสาวะเมื่ออยู่ในท่ายืน Orthostatic (postural) proteinuria โปรตีนมักจะน้อยกว่า 1 กรัมต่อวัน จะตรวจพบเมื่ออยู่ในท่ายืน เมื่อนอนโปรตีนก็จะหายไป
เมื่อตรวจปัสสาวะ 2-3 ครั้ง ยังพบโปรตีนทุกครั้งท่ีตรวจเราเรียกว่า Persistent proteinuria ซึ่งมีโรคท่ีไต ปริมาณโปรตีนก็สามารถบอกตำแหน่งของโรคไต
การตรวจวินิจฉัย
ซักประวัติเพิ่มเติม โดยเฉพาะประวัติการใช้ยา ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต อาชีพ
วัดความดันโลหิต
เจาะเลือดตรวจเช่น การทำงานของไต
ตรวจเลือดหาระดับ น้ำตาลในเลือด
ตรวจเลือดหาระดับไขมันในเลือด
นำปัสสาวะไปส่องกล้องตรวจหาเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว หากมีเม็ดเลือดขาวมาก และย้อมพบเชื้อแบคทีเรียสาเหตุของโปรตีนในปัสสาวะน่าจะเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย
วัดระดับโปรตีนในปัสสาวะ และระดับ creatinine เพื่อประเมินความรุนแรงของโปรตีนในปัสสาวะเพื่อพิจารณาวางแผนการรักษา
Protein/creatinine ratio >100 mg/mmol ผู้ป่วยจะต้องไปพบแพทย์โรคไต
Protein/creatinine ratio > 45 mg/mmol และตรวจพบเม็ดเลือดแดงในปัสสาวะ จะต้องพบแพทย์เฉพาะโรคไต
Protein/creatinine ratio < 45 mg/mmol.ให้การดูแลเหมือนผู้ป่วยที่เริ่มเป็นโรคไต
ปริมาณ Protein มากกว่า 3.5 กรัมต่อวัน จะจัดอยู่ในกลุ่มเนฟโฟติค
ตรวจเลือดเพื่อหาว่ามีโรค SLE
ตรวจ Ultrasound ของไต
บางรายอาจจะต้องเจาะชิ้นเน้ือไตเพื่อตรวจเน้ือไตทางกล้องจุลทัศน์
ความสําคัญของการตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะ
ปริมาณโปรตีนในปัสสาวะจะเป็นตัวท่ีกำหนดว่า ผู้ใดจะเป็นโรคไตวาย ผู้ที่มีโปรตีนในปัสสาวะน้อยโอกาศเสี่ยงท่ีจะกลายเป็นโรคไตวายจะต่ำ ผู้ที่มีโปรตีนในปัสสาวะสูงมีโอกาศจะเป็นโรคไตวายสูง นอกจากนั้นปริมาณโปรตีนในปัสสาวะยังสัมพันธ์กับการเกิดโรคหัวใจ
อาการผู้ที่มีโปรตีนในปัสสาวะ
จะไม่มีอาการอะไร หากมีปริมาณโปรตีนในปัสสาวะปริมาณมากเวลา ปัสสาวะลงในโถส้วมจะเป็นฟองหากร่างกายสูญเสียโปรตีนไปมากจะทำใหเ้กิดอาการบวมบริ เวณเท้า หนังตา