Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
รูปแบบการใช้นวัตกรรมการเรียนการสอนยุคดิจิทัล - Coggle Diagram
รูปแบบการใช้นวัตกรรมการเรียนการสอนยุคดิจิทัล
ประโยชน์ของ AI ทางการศึกษา
AI ช่วยครูสร้างสรรค์เนื้อหาสำหรับสอน
AI ช่วยเป็นติวเตอร์ประสิทธิภาพสูง
ช่วยลดเวลาทำงานซ้ำ ๆ
AI เป็นอาจารย์เสมือนจริงได้
นวัตกรรมการเรียนการสอนในยุคดิจทัล
Artificial Intelligence (AI)
ความฉลาดเทียมที่สร้างขึ้นให้กับสิ่งที่ไม่มีชีวิต
Nano learning
Web-based learning
เว็บที่ใช้ในทางการศึกษาในระยะแรกๆ เน้นไปที่การจัดเก็บข้อมูลเพื่อการอ้างอิงทางการศึกษา
Micro- Learning
เน้นในผู้เรียนเรียนรู้ผ่านวิดิโอ
Massive Open Online Courses: Mooc
เป็นคอร์สออนไลน์ที่เน้นการมีส่วนร่วมและการเข้าถึงอย่างไม่จำกัดผ่านทางเวิลด์ไวด์เว็บ
Game Based Learning
Social Network Learning
เครือข่ายการเรียนรู้ทางสังคมเป็นเครือข่ายทางสังคมชนิดหนึ่งที่เกิดจากการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนอาจารย์และโมดูลการเรียนรู้
Augemented reality:AR. Virtual reality-VR
Mobile learning : M-Learning
การเรียนรู้ผ่านมือถือ
ขอบข่ายของ AI
Deep Learning (DL) เป็นระบบเรียนรู้เชิงลึกแบบอัตโนมัติด้วยการเลียนแบบการทำงานของโครงข่ายใยประสาทของมนุษย์
Data Mining หรือเหมืองข้อมูล เป็นกระบวนการวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่เพื่อศึกษารูปแบบ แนวโน้ม และความสัมพันธ์ของข้อมูลในประเด็นที่สนใจ
Learning Analytics (LA) หรือการวิเคราะห์การเรียนรู้เป็นการค้นหากฏเกณฑ์ที่พัฒนาเพื่อปรับปรุงการเรียนการสอนโดยการประเมิน
Machine Learning (ML) คือ การเรียนรู้ของเครื่องจักรเป็นการทำให้คอมพิวเตอร์มีความสามารถในการเรียนรู้ได้โดยไม่ต้องเขียนโปรแกรมไว้อย่างชัดเจน
สามารถนิยามการเรียนรู้ได้ 4 กลุ่ม
การกระทำคล้ายมนุษย์
สื่อสารกับมนุษย์ได้ด้วยภาษาที่มนุษย์ใช้มีประสาทรับสัมผัสคล้ายมนุษย์
ความคิดคล้ายมนุษย์
วิเคราะห์ลักษณะการคิดของมนุษย์เป็นศาสตร์ด้าน Cognitive Science
กระทำอย่างมีเหตุผล
โดยจะตอบสนองต่อการกระทำแต่ละแบบโดยการนำเอาสภาพแวดล้อมเข้ามาวิเคราะห์ร่วมกัน
คิดอย่างมีเหตุผล
คิดถูกต้อง โดยใช้หลักตรรกศาสตร์ในการคิดหาคำตอบอย่างมีเหตุผล
วิวัฒนาการของ AI
3.ต้นกําเนิดระบบผู้เชี่ยวชาญ (ค.ศ.1970-1985)
4.ยุคทองของปัญญาประดิษฐ์ (ค.ศ.1980-1989)
2.ยุคต้นกําเนิดภาษาที่ใช้ในปัญญาประดิษฐ์ (ค.ศ. 1956-1970)
1.ยุคแรก (ค.ศ.1943-1956) :
5.ยุคใหม่ของการประยุกต์ใช้ปัญญาประดิษฐ์ (หลังปี ค.ศ.1990)
มิติการทำงานของ AI
มิติการคิดและการทำแบบมนุษย์ (Thinking & Acting Humanly)
มิติการคิดและกระทำอย่างมีเหตุผล (Thinking &ActingRationally)
ประเภทของ AI
AI ที่ขับเคลื่อนด้วยข้อมูล (Data-Driven AI)
AI ที่ใช้ความรู้เป็นฐาน (Knowledge-Based:AI)
Artificial intelligence
ปัญญาประดิษฐ์
ความฉลาดเทียมที่สร้างขึ้นให้กับสิ่งที่ไม่มีชีวิต
เทคโนโลยีที่ทำงานเหมือนสมองของคนเรา
องค์ประกอบ
ปรัชญา
ศาสตร์
วิศวกร
จิตวิทยา
สาขาต่าง ๆ ของปัญญาประดิษฐ์
1.การประมวลผลภาษาธรรมชาติ
2.การวางแผน
3.การรู้จำคำพูด
4.โครงข่ายประสาท
5.การมองเห็น
6.การแก้ปัญหา
7.ระบบผู้เชี่ยวชาญ
8.หุ่นยนต์
การประยุกต์ใช้ AI ด้านการศึกษา
ระบบปัญญาประดิษฐ์ (AI)
สามารถประเมินความก้าวหน้าของนักเรียนได้อย่างรวดเร็ว
AI สามารถวิเคราะห์โปรแกรมการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพและหาช่องว่างในหลักสูตร
ผลกระทบด้านต่าง ๆ
ด้านความปลอดภัยและความมั่นคง
AI สามารถใช้เป็นสมองของ Self-driving car ที่น่าจะช่วยลดอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นบนท้องถนน
ด้านการศึกษา
AI เปลี่ยนแปลงตลาดแรงงาน ทำให้รูปแบบการศึกษาเปลี่ยนไป
ประเทศจีนเริ่มให้เด็กประถมและมัธยมเรียนรู้เกี่ยวกับ Programming
เพื่อสร้างแนวคิดเชิงคำนวณ (Computational thinking) การรู้เท่าทัน ระบบดิจิทัลและข้อมูล
ด้านกฎหมาย
ความเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและความล้าสมัยของกฎหมาย อาจเป็นอุปสรรคของการสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ และก่อให้เกิดความเสียเปรียบได้เปรียบของแต่ละประเทศ