Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิวัฒนาการของแนวคิด และทฤษฎีการบริหาร, นางสาวมาลินี พินธะ รหัสนักศึกษา…
วิวัฒนาการของแนวคิด
และทฤษฎีการบริหาร
ทฤษฎีการบริหารเชิงพฤติกรรมศาสตร์
( Behavioral Theory )
3.1 ทฤษฎีแรงจูงใจของมาสโลว์
( Maslow’s Motivation Theory )
โดย Abraham Maslow
ผู้พัฒนาทฤษฎีแรงจูงใจ ( Motivation Theory )
มนุษย์มีความต้องการไม่สิ้นสุด
มนุษย์พยายามหาวิธีการต่างๆ ที่จะทําให้ตนเองได้รับในสิ่งที่ตนเองต้องการเป็นแรงกระตุ้นให้เกิดการแสดงพฤติกรรม
ลําดับขั้นความต้องการของมนุษย์มี 5 ลําดับขั้น
ขั้นที่ 1 ความต้องการทางกายภาพ ( physiological needs )
• เช่น อาหาร, เครื่องนุ่งห่ม, ที่อยู่อาศัย, ยารักษาโรค, อากาศ, น้ําดื่ม, การพักผ่อน
ขั้นที่ 2 ความต้องการความมั่นคงและปลอดภัย ( security needs )
• คือความต้องการที่จะให้ชีวิตมีความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ความต้องการความมั่นคงในชีวิตและการงาน
ขั้นที่ 3 ความต้องการความรักและเป็นส่วนหนึ่งของสังคม
(social needs/love and belonging needs )
• ต้องการให้และได้รับซึ่งความรัก และต้องการได้รับการยอมรับ
ขั้นที่ 4 ความต้องการการยอมรับนับถือ ( self-esteem needs )
• เป็นความต้องการที่จะนับถือตนเองและได้รับการยกยรองในสังคม
ขั้นที่ 5 ความต้องการเติมความสมบูรณ์ให้ชีวิต
( self actualization needs )
• เป็นความต้องการที่จะพัฒนาตนเอง
ให้บรรลุศักยภาพสูงสุดที่ตนเองจะเป็นได้
3.2 ฤษฎีสองปัจจัย ( Two-Factor Theory )
พัฒนาโดย Frederick Herzberg
ปัจจัยจูงใจ ( motivation factors )
ประกอบด้วย 10 ด้าน
นโยบายและการบริหารขององค์การ
( company policy and administration )
การบังคับบัญชาและการควบคุมดูแล ( supervision )
ความสัมพันธ์กับหัวหน้างาน
( interpersonal relations with supervision )
ความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน
( interpersonal relations with peers )
ความสัมพันธ์กับผู้ใต้บังคับบัญชา
( interpersonal relations with subordinators )
ตําแหน่งงาน ( status )
ความมั่นคงในการทํางาน ( job security )
ชีวิตส่วนตัว ( personal life )
สภาพการทํางาน ( working conditions )
ค่าตอบแทนและสวัสดิการ
( compensations and welfares )
** เมื่อใดปัจจัยจูงใจลดลงต่ำกว่าระดับที่ควรจะเป็นอย่างมาก ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการทํางานก็จะลดต่ำไปด้วย
ปัจจัยอนามัย ( hygiene factors )
ประกอบด้วยปัจจัย 5 ด้าน
ความสําเร็จในการทํางาน
( achievement )
การได้รับการยอมรับ ( recognition )
ความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน
( advancement )
ลักษณะงานที่ทํา ( work itself )
ความรับผิดชอบ ( responsibility )
**ถ้าปัจจัยอนามัยลดต่ำลงกว่าระดับที่ควรจะเป็น
จะทำให้บุคลากรเกิดความไม่พอใจ
ทฤษฎีการบริหารยุคการจัดการร่วมสมัย
( Contemporary Management Era )
4.1 ทฤษฎีระบบ ( System Theory )
โดย Ludwig von Bertalanffy
ประกอบด้วย 4 ประการ
สิ่งนําเข้า ( input )
ประโยชน์ในกระบวนการจัดการ
• เงิน
•คน
• วัสดุอุปกรณ์
• เครื่องจักร
• วิธีการทํางาน
กระบวนการจัดการ ( process )
สิ่งนําเข้ามาใช้ในการจัดการ
• การวางแผน
• การจัดการองค์การ
• การอํานวยการ
• การควบคุม
ผลผลิตหรือผลลัพธ์ ( output )
ผลลัพธ์โดยตรงที่เป็นผลจาก
การวัดหรือประเมินจากสิ่งต่างๆ
• ประสิทธิผล
• ประสิทธิภาพ
• คุณภาพ
• ความพึงพอใจของผู้ปฏิบัติงาน
• ความพึงพอใจของผู้รับบริการ
ข้อมูลย้อนกลับหรือการป้อนกลับของข้อมูล
( feedback )
การนําข้อมูลจากผลผลิตหรือผลลัพธ์ย้อนกลับไปยังสิ่งนําเข้าเพื่อนําไปใช้ในการปรับปรุงกระบวน การบริหารอย่างต่อเนื่อง
4.2 ทฤษฏีการบริหารเชิงสถานการณ์
( Contingency Theory )
การบริหารจะดีหรือไม่ขึ้นอยูรกับสถานการณ์
ผู้บริหารจะต้องสามารถวิเคราะห์สถานการณ์ให้ดีที่สุด
สถานการณ์จะเป็นตัวกําหนดการตัดสินใจ
และรูปแบบการบริหารที่เหมาะสม
เป็นการผสมผสานแนวคิดระหว่าง
ระบบปิดและระบบเปิด ยอมรับหลักการของทฤษฎีระหว่างทุกส่วนของระบบจะต้องสัมพันธ์และมีผลกระทบซึ่งกันและกัน
คํานึงถึงสิ่งแวดล้อมและความต้องการของบุคคล
ในหน่วยงานเป็นหลักมากกว่าที่จะแสวงหาวิธีการอัน
ดีเลิศมาใช้ในการทํางาน ใช้ปัจจัยด้านจิตวิทยา
ในการพิจารณาด้วย
การออกแบบองค์การต้องสอดคล้องกับสถานการณ์
ผู้บริหารต้องรู้จักการพิจารณาความแตกต่างที่มีอยู่ในหน่วยงาน
นางสาวมาลินี พินธะ
รหัสนักศึกษา 62110077