Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กป่วยโรคติดเชื้อ ที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กป่วยโรคติดเชื้อ
ที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
measles or rubeola (หัด)
เกิดจาก เชื้อ morbillivirus แพร่โดยน้ำมูก น้ำลาย
ระยะติดต่อ 4-5 วัน ก่อนและหลังขึ้นผื่น
อาการ
ระยะก่อนผื่นขึ้น ระยะ 3-5 วันเริ่มมีไข้สูง
-ไข้+มีผื่น
-ไข้สูง แล้วไข้ต่ำ+ไอ ตาแดง พบ koplik's spot
ระยะออกผื่น ระยะนี้จะมีผื่นภายใน 48-72 ชม. ถ้าผื่นเป็นสีดำคล้ำจะคัน
ระยะฟื้นตัว ไข้ลดหายภายใน 26-36 ชม.ผื่นเป็นสีดำขุย ตัวลาย หายใน 1 เดือน
ภาวะแทรกซ้อน ช่องหูอักเสบ ปอดอักเสบ สมองอักเสบ อุจจาระร่วง
การป้องกัน ฉีดวัคซึน MMR อย่างน้อย 2 เข็ม (9เดือน,2ขวบครึ่ง)
German Measles or Rubella (หัดเยอรมัน)
เกิดจาก เชื้อ rubella virus เข้าสูงทางเดินหายใจ ไปยังต่อมน้ำเหลือง เข้าสู่กระแสเลือด แล้วออกทางผิวหนัง
ระยะติดต่อ หน้า 7 หลัง7 ต่อผื่นขึ้น
อาการ ต่อมน้ำเหลืองโตบริเวณหลังหู/ท้ายทอย
ลักษณะผื่น เป็นผื่นแดงแบบ maculopapule ขึ้น 2 ชม. และหายภายใน3วัน และในผู้ใหญ่จะมีข้ออักเสบ
ภาวะแทรกซ้อน สมองอักเสบ หัวใจอักเสบ มีจ้ำเลือดจากเกล็ดเลือดต่ำ
การป้องกัน ฉีดวัคซีน MMR อย่างน้อย 2 เข็ม (9 เดือน,2ขวบครึ่ง) ในผู้ใหญ่ หรือผู้หญิงตั้งครรภ์ควรได้รับวัคซีนอีกครั้ง และไม่ให้ในผู้หญิงตั้งครรภ์ และ ผู้ที่รับวัคซีนจะต้องไม่ตั้งครรภ์ภายใน 2 เดือน
Tuberculosis (วัณโรค)
อาการและอาการแสดง
ผู้ป่วยสัมผัส แข็งแรง++tuberculin test (-) + CxR ปกติ : ยา isniacid 3-6 เดือน
ผู้ป่วยระยะแฝง แข็งแรง+tuberculin test (+) + CxR ผิดปกติ : ยา isniacid 6-9 เดือน
ผู้ป่วยระยะเป็นโรค CxRผิดปกติ 2 เดือนแรก : isoniacid rifampim pyrazinamine
การวินิจฉัย
ตรวจเสมหะ
CxR
ทดสอบterbuculin 48-72 hr
ถ้าตุ่มนูนมากกว่า 10 mm = ติดเชื้อ
การหยุดยา
กรณี ขาดยา 2 เดือนแรกไม่เกิน 14 วัน ให้กินยาต่อได้ หากเกินให้เริ่มใหม่
ขาดยาเมื่อรับการรักษามากกว่า 80% + ไม่พบเชื้อ ให้หยุดยา แต่ถ้าพบเชื้อให้ยาต่อ
ขาดยาเมื่อรักษาน้อยกว่า 80%+หยุดยานานกว่า 3 เดือน ต้องตรวจ AFB และให้ยา4ตัวไว้ก่อน หากพบเชื้อรักษาใหม่ หากไม่พบหยุดรักษา กรณีที่รักษามานานกว่า9เดือนแล้ว
Chicken Pox or varicella (อีสุกอีใส)
เกิดจากเชื้อ varicella virus โดยติดทางทางเดินหายใจ หรือถูกสะเก็ดอีสุกอีใส
การเกิดตุ่ม : หนังกำพร้ามีการคั่งของของเหลวเป็นตุ่มใส(vesiele)--> มีเม็ดเลือดขาวเข้ามาเป็นตุ่มน้ำขุ่น
ระยะติดต่อ หน้า 1 หลัง 7 จนกว่าผื่นจะตกสะเก็ด ไข้ : ไข้จะลดลงเมื่อผื่นขึ้นทั้งตัว
ผื่น : ผื่นแบบราบ macule สีแดง 2-3 mm
: 8-12 ชม.เปลี่ยนเป็นตุ่มมนูน papule
: ตุ่มน้ำใส vesicle ->ตุ่มหนองpustule->ตกสะเก็ด
ผื่นจะขึ้นบริเวณศีรษะ ใบหน้า คอ เยื่อบุปาก ลำตัวมากกว่าแขนและขา
การป้องกัน เด็ก 1 ปี ขึ้นไป ฉีดเมื่อ 12-18 เดือน , 4-6 ปี ในผู้ที่มีอายุมากกว่า 13 ปีให้ฉีด 2 เข็มห่างกัน 4-8 สัปดาห์
Mumps (คางทูม)
เกิดจากเชื้อ mump virus (น้ำลาย น้ำไขสันหลัง ปัสสาวะ)
อาการ ไข้ต่ำ ปวดเมื่อยตัว เบื่ออาหาร เจ็บหน้าหู ขากรรไกร
ต่อมน้ำลายพาโรติดบวมโตแต่เมื่อไข้ลดต่อมน้ำลายจะยุบ
ให้แยกผู้ป่วยหลังต่อมน้ำลายโต 9-10 วัน
วิธีป้องกัน ฉีดวัคซีน MMR อย่างน้อย 2 เข็ม (9เดือน, 2 ขวบครึ่ง)