Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการบริหารเชิงพฤติกรรมศาสตร์(Behavioral Theory )
image,…
ทฤษฎีการบริหารเชิงพฤติกรรมศาสตร์(Behavioral Theory )
ศึกษาพฤติกรรมของบุคคลหรือการปฏิบัติงานของบุคคลในองค์การโดยมุ่งทำความเข้าใจเกี่ยวกับคนและเน้นเรื่องคุณภาพของคนมากกว่างานได้แก่ทฤษฎีแรงจูงใจของมาสโลว์ เเละทฤษฎีสองปัจจัย
-
-
สำหรับความสัมพันธ์ของความพึงพอใจที่เกิดจากแรงจูงใจตามองค์ประกอบของทฤษฎี 2 ปัจจัย ปัจจัยจูงใจลดลงต่ำกว่าระดับที่ควรจะเป็นอย่างมากประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการทำงานก็จะลดตามไปด้วยถ้าปัจจัยอนามัยลดต่ำลงกว่าระดับที่ควรจะเป็นหรือขาดไปก็จะทำให้บุคลากรเกิดความไม่พอใจในการปฏิบัติงาน รู้สึกเบื่อหน่ายท้อถอยและหมดกำลังใจในการทำงาน
-
5 ลำดับขั้น ได้เเก่
ขั้นที่ 1 ความต้องการทางกายภาพ เป็นความต้องการของมนุษย์เพื่อความอยู่รอด เช่น อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย น้ำดื่ม
-
ขั้นที่ 3 ความต้องการความรักและเป็นส่วนหนึ่งของสังคม ต้องการให้และได้รับซึ่งความรักและได้รับการยอมรับ
-
ขั้นที่ 5 ความต้องการเติมความสมบูรณ์ให้ชีวิตเป็นความต้องการที่จะพัฒนาตนเอง ให้บรรลุศักยภาพสูงสุดที่ตนเองจะเป็นได้
-
-
พัฒนาโดย Frederick Herzberg ในปีค.ศ 1950 - 1959 มี 2 ปัจจัยประกอบด้วยปัจจัยจูงใจหรือปัจจัยที่เป็นตัวกระตุ้นในการทำงานและปัจจัยสุขอนามัยหรือปัจจัยที่ช่วยลดความไม่พึงพอใจในการทํางาน
ความพึงพอใจที่เกิดจากแรงจูงใจมี 2 ปัจจัย
1.) ปัจจัยจูงใจเป็นปัจจัยภายในหรือความต้องการภายในของผู้ปฏิบัติงานซึ่งเป็นตัวกระตุ้นให้ผู้ปฏิบัติงานทำงานด้วยความพึงพอใจ ประกอบด้วยปัจจัย 10 ด้าน
2.) ปัจจัยอนามัย เป็นปัจจัยที่ไม่สามารถสร้างแรงจูงใจให้เกิดขึ้นได้ซึ่งส่วนใหญ่เป็นปัจจัยพื้นฐานที่จำเป็นต้องได้รับการตอบสนองถ้าไม่มีให้หรือให้ไม่เพียงพอจะทำให้ผู้ปฏิบัติงานเกิดความไม่พึงพอใจในการทำงานประกอบด้วยปัจจัย 5 ด้านคือ